วันจันทร์ที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2558

**ตรงนี้มีข้อสอบ>>ทักษะการบริหารแนวใหม่


การบริหารการมีส่วนรวม(Participative Management : PM)
ปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดการมีส่วนรวม(Participative Management : PM)
1) แรงจูงใจ
        2) ภาวะผู้นํา
ข้อเสนอแนะการนำวิธีการบริหารแบบมีสวนร่วมไปใชในการปฏิบัติจริง
1) การประชุมระดมความคิด (Brain Storming) และการประชุมเชิงปฏิบัติการ (Workshops)
2) การใช้กลุ่มงานเฉพาะกิจและคณะกรรมการ (Special Task Forces and Committee)
3) การสร้างและสานวิสัยทัศน์ (Shared Vision )
4) การจัดเวทีประชาคมเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้
5) การใช้ระบบข้อมูลและระบบรวมศูนย์ข้อมูล (Centralize)
6) การจัดระบบการสื่อสารที่ดีและสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคค

 (KAIZEN)
ไคเซ็น หมายถึง กลยุทธ์การบริหารงานแบบญี่ปุ่น (Kaizen) เป็นภาษาญี่ปุ่นแปลว่า การปรับปรุง (Improvement)
กลยุทธ์หลัก Kaizen
1. รายการตรวจสอบ 3-Mu’s ประกอบด้วย
(Muda) คือความสูญเปล่า
(Muri) คือความตึง
(Mura) คือความแตกต่างขัดแย้งกัน
2. หลักการ 5ส              
3. หลักการ 5W 1H ได้แก่    Who ใครเป็นผู้ทํา
          what ทําอะไร
          Where ทําที่ไหน
          When ทําเมื่อไร
          Why ทําไมต้องทําย่างนั้น
          How ทําอย่างไร
4. รายการตรวจสอบ 4M ได้แก่          
                              Man
                              Machine หมายถึงการตรวจสอบอุปกรณ์อํานวยความสะดวก(มิใช่ Money)
                              Material หมายถึงการ ตรวจสอบ                   
                              Method หมายถึงการตรวจสอบว่ามาตรฐานในการทํางานมีเพียงพอหรือไม่(มิใช่ Management)
ระบบสําคัญของ Kaizen 5 ระบบคือ
1. การควบคุมคุณภาพและการบริหารคุณภาพ
2. ระบบการผลิตแบบทันเวลาพอดี Just in Time Production system (JIT)
3. การบํารุงรักษาทวีผล TPM (Total Productive Maintenance)
4. ระบบข้อเสนอแนะ (Suggestion System) เป็นระบบการบํารุงขวัญกําลังใจ
5. กิจกรรมกลุ่มย่อย (Small Group Activities)

(Key Performance Indicator: KPI)
ประเภทของ KPI
-KPI ตามหน้าที่งาน (Job KPI)
-KPI เชิงกลยุทธ์ (Strategic KPI)
ขั้นตอนการสร้าง KPI
1. กําหนดวัตถุประสงค์หรือผลลัพธ์ที่องค์กรต้องการ (What to measure?)
2. กําหนดปัจจัยสู่ความสําเร็จหรือปัจจัยวิกฤต (Key Success Factor or Critical Success Factor)
3. กําหนดตัวดัชนีชี้วัดที่สามารถบ่งชี้ความสําเร็จจากการดําเนินการ (How to measure?)
4. กลั่นกรองดัชนีชี้วัดเพื่อหาดัชนีชี้วัดหลัก
5. กระจายดัชนีชี้วัดสู่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
6. จัดทํา KPI Dictionary

การบริหารเวลา (Time Management)
1. ทํางานเพื่อความสําเร็จในการทํางานและชีวิต
2. การคิดเพื่อเป็นคลังแห่งปัญญา
3. การอ่านเพื่อรวบรวมเป็นฐานข้อมูล
4. การเล่นเพื่อความเป็นหนุ่มสาว
5. การหัวเราะเพื่อสร้างเสียงดนตรีในหัวใจ
6. ความรักเพื่อความอิ่มเอิบ เบิกบาน หัวใจ
หลักการจัดสรรเวลา: ทั้ง 24 ชั่งโมง
1. ทํางานประมาณ 8 ชั่วโมง
2. พักผ่อนประมาณ 6-8 ชั่วโมง
3. แสวงหาความรู้ประมาณ 1-3 ชั่วโมง
4. เดินทางประมาณ 1ชั่วโมง
5. กิจกรรมสุขภาพ 1-2 ชั่วโมง

ประสิทธิภาพในการบริหารเวลา: เพื่อประสิทธิผลของงาน
1. มีจุดยืนตัวเองเรื่องเวลา จงกําหนดกรอบเสมอ
2. ค้นหาวิธีลดเวลา หรือใช้เวลาเท่าเดิมแต่ได้ปริมาณและคุณภาพมากขึ้น
3. ใส่ใจพัฒนางาน จงพัฒนางานให้ก้าวล้ำเสมอ
4. มุ่งมั่นสานต่อความคิด
5. จิตใจอยู่กับงาน
6. ตนและองค์การก้าวหน้า

 (Management By Objective : MBO)
หลักปรัชญา
1. ยึดวัตถุประสงค์เป็นเป้าหมายหลัก
2. กระบวนการมีส่วนร่วม การทํางานเป็นทีม
3. เน้นการควบคุมตนเอง การมีวินัย


การบริหารแบบเดินรอบๆ: Management By Walking Around (MBWA)
-ลดช่องว่างระหว่างผู้บริหารกับพนักงานโดยให้ความสําคัญกับการสื่อสาร

การพัฒนาบุคลากรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน
(Situation Objective Strategy : SOS)
การรื้อระบบ (Reengineering)
การบริหารงานมุ่งผลสัมฤทธิ์(Results Based Management : RBM)

การพัฒนาบุคลากรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน (Situation Objective Strategy : SOS) มีหลักการที่สําคัญคือ
S = Situation คือ สถานการณ์ความรู้เกี่ยวกับตัวเราเอง ซึ่งก็หมายถึงสิ่งแวดล้อมตัวเรานั้นเอง
O = Objective คือ เป้าหมายว่าต้องการอะไร จะไปที่ไหน ต้องการความสําเร็จมากน้อยแค่ไหน อย่างไร
S = Strategy คือ กลวิธีรู้ว่าจะไปถึงเป้าหมาย จะไปที่นั่นได้อย่างไร

หลักการของหลักธรรมาภิบาล
หลักการธรรมาภิบาลในความหมายทั่วไป
 1) หลักนิติธรรม (Rule of Law)  “หลักนิติธรรมหรือ หลักนิติรัฐมี 7 ประการคือ
 (1) แบ่งแยก
 (2) คุ้มครอง
 (3) ตุลาการ
 (4) เนื้อหากฎหมาย
 (5) ผู้พิพากษา
 (6) “ไม่ผิดไม่โทษไม่กฎ
 (7) รัฐธรรมนูญ
2) หลักความรับผิดชอบ (Accountability)
(1) เป้าชัด
 (2) ร่วม
 (3) ประสิทธิภาพ
 (4) พฤติไม่เอื้อ
 (5) แผนสํารอง
 (6) เมิน
3) หลักความโปร่งใส (Transparency) ประกอบด้วย
 (1) โครงสร้าง
 (2) คุณ
 (3) โทษ
(4) เปิดเผย
 4) หลักการมีส่วนร่วม (Participation)
(1) ให้ข้อมูล
(2) รับความคิดเห็น
 (3) วางแผนร่วม
 (4) พัฒนา

 5) หลักความคุ้มค่า (Value for money)
(1) การประหยัด
 (2) การใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด
 (3) ความสามารถในการแข่งขัน
 6) หลักคุณธรรม (Ethics)
 3 หลักการคือ หน่วยงานปลอด          1. ทุจริต 
2. ผิดวินัย                              
3. ผิดมาตรฐานวิชาชีพ

Km เป็น 4 ระดับ คือ
1. ทฤษฏี (Know-What)
2. ทฤษฏีและบริบท (Know-How)
3. เหตุผล (Know-Why)
4. คุณค่า (Care-Why)

องค์การแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization)5 องค์ประกอบ ดังนี้
1. การเรียนรู้ (Learning) หรือพลวัตการเรียนรู้ (Learning Dynamics)
1) ระดับการเรียนรู้ได้แก่
-บุคคล
-กลุ่ม
-องค์การ
2) ประเภทของการเรียนรู้ ได้แก่  การเรียนรู้จากการ
-ปรับตัว
-คาดการณ์
-เรียนรู้
-ปฏิบัติ
3) ทักษะการเรียนรู้ ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ
3.1) บุคคลรอบรู้ (Personal Mastery)
3.2) แบบแผนทางความคิด (Mental Model)
3.3) การมีวิสัยทัศน์ร่วม (Shared Vision)
3.4) การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม (Team Learning)
3.5) การคิดอย่างเป็นระบบ (System Thinking)
3.6) การสนทนาแบบมีแบบแผน (Dialogue)
2. องค์การ (Organization) หรือการปรับเปลี่ยนองค์การ (Organization Transformation)
1) วิสัยทัศน์
2) วัฒนธรรมองค์การ 
3) กลยุทธ์
4) โครงสร้าง

3. สมาชิกในองค์การ (People) หรือการเสริมความรู้แก่บุคคล (People Empowerment)
1) บุคลากร                       2) ผู้บริหาร / ผู้นํา
3) ผู้รับบริการ / ลูกค้า        4) คู่ค้า
5) พันธมิตร / หุ้นส่วน        6) ชุมชน
4. ความรู้ (Knowledge) หรือการจัดการความรู้ (Knowledge Management)
1) การแสวงหาความรู้
2) การสร้างความรู้
3) การจัดเก็บความรู้
4) การถ่ายโอนความรู้และการใช้ประโยชน์
5. เทคโนโลยี (Technology) หรือการนําเทคโนโลยีไปใช้ (Technology Application)
1) เทคโนโลยีสารสนเทศ
2) เทคโนโลยีพื้นฐานของการเรียนรู้
3) ระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่สนับสนุนการปฏิบัติงาน
ลักษณะสําคัญ 5 ประการขององค์การแห่งการเรียนรู้
1. มีการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ (Systematic Problem Solving) โดยอาศัยหลักทาง
วิทยาศาสตร์เช่น การใช้วงจรของ Demming ( PDCA : Plan, Do, Check, Act)
2. มีการทดลองปฏิบัติ (Experimental) ในสิ่งใหม่ๆ ที่มีประโยชน์ต่อองค์การเสมอ โดย
อาจจะเป็น Demonstration Project หรือเป็น Ongoing Program
3. มีการเรียนรู้จากบทเรียนในอดีต (Learning from their Own Experience) มีการบันทึก
ข้อมูลเป็น Case Study เพื่อให้สมาชิกในองค์การได้ศึกษาถึงความสําเร็จและความผิดพลาดที่เกิดขึ้น
เพื่อนํามาประยุกต์ใช้ในอนาคต มีการแลกเปลี่ยนความรู้และ ประสบการณ์ของสมาชิก
4. มีการเรียนรู้จากผู้อื่น (Learning from the Others) โดยการใช้การสัมภาษณ์
(Interview) การสังเกต (Observation) ฯลฯ
5. มีการถ่ายทอดความรู้โดยการทํา Report, Demonstration, Training & Education,
Job Rotation ฯลฯ

การเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community: PLC)
การปรับเปลี่ยนสถานศึกษาของตนให้เป็น โรงเรียนแห่งการเรียนรู้นั้น ผู้นําสถานศึกษา
สามารถจัดทําได้เป็น 3 ระดับ โดยแต่ละระดับซึ่งมีความเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ย่อย (Learning Community) ได้แก่      
-  ระดับนักเรียน (Student Level)
- ระดับวิชาชีพ (Professional Level)
-  ระดับชุมชน (Communing Level)
ระดับที่ 1 ระดับนักเรียน (Student Level) ซึ่งนักเรียนจะได้รับการส่งเสริม จากครูและเพื่อนักเรียนอื่นเพื่อแสวงหาคําตอบ
ที่สมเหตุสมผลสําหรับตน (Meaning Making)
ระดับที่ 2 เป็นระดับผู้ประกอบวิชาชีพ (Professional Level) ซึ่งประกอบด้วยครูผู้สอนและผู้บริหารของโรงเรียน โดยชุมชนแห่งการเรียนรู้ในระดับที่สองจะมีลักษณะเด่นตรงที่มีการจัดตั้งสิ่งที่เรียกว่า ชุมชนแห่งวิชาชีพ หรือ Professional Community”
ระดับที่ 3 เป็นระดับการเรียนรู้ของชุมชน (Learning Community Level) ผู้ปกครอง สมาชิกชุมชนและผู้นําชุมชน

Hord (2000) ได้แบ่งมิติของชุมชนแห่งการเรียนรู้ไว้ 5 มิติ
1. การสนับสนุนและการเป็นผู้นําร่วมกัน (Supportive and Shared Leadership)
2. การสร้างค่านิยมและวิสัยทัศน์ร่วมกัน (Shared Values and Vision)
3. กลุ่มการเรียนรู้และวิธีการของการเรียนรู้ (Collective Learning and Application of Learning)
   แท้ที่จริงแล้ว มิตินี้เรียกว่า กลุ่มสร้างสรรค์
4. การสนับสนุนเงื่อนไข (Supportive Conditions)
5. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคคล (Shared Personal Practice)




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น