วันศุกร์ที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

200แนวการบริหารยุคใหม่ ทฤษฎีการบริหาร


เรื่อง การบริหารยุคใหม่  การบริหารการเปลี่ยนแปลงและทฤษฎีการบริหาร

1.      Frederick W Taylor ได้สรุปแนวคิดที่สำคัญในการบริหารแบบวิทยาศาสตร์ไว้ 4 ประการ
ยกเว้นข้อใด
ก. การปรับปรุงระบบการผลิต ด้วยการหาวิธีที่ดีที่สุด (One best way)                       
ข. การคัดเลือกและจัดบุคคลเข้าทางานอย่างเป็นระบบ (Put the right man to the right job)
ค. การจูงใจด้านการเงิน โดยให้ค่าตอบแทนเป็นสัดส่วนกับผลผลิตของแต่ ละบุคคล
ง. ไม่แบ่งงานกันทำระหว่างฝ่ายบริหารและฝ่ายปฏิบัติการ
2. ทฤษฎีการบริหารงานของรัฐ (The Theory of the Administration of the state) ซึ่งมีองค์ประกอบของการบริหารสำคัญ 5 ประการ (POCCC) เป็นผลงานของใคร
          ก. Frederick W Taylor                    ข. Henri Fayol
          ค. Henry L. Gantt                         . Luther Gulick และ Lyndall Urwick
3. ใครเป็นบิดาของการบริหารแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Management )
          ก. Frederick W Taylor                    ข. Henri Fayol
          ค. Henry L. Gantt                         . Luther Gulick และ Lyndall Urwick
4. การทำกำหนดการโดยอาศัยเวลาแทนการใช้ปริมาณงาน เป็นแนวคิดของใคร
          ก. Frederick W Taylor                    ข. Henri Fayol
          ค. Henry L. Gantt                         . Luther Gulick และ Lyndall Urwick
5. องค์ประกอบของการบริหารสำคัญ 5 ประการ (POCCC) ที่สะท้อนถึงหน้าที่ หรือกระบวนการบริหาร
ข้อใดไม่ใช่ความหมายของตัว C
ก. (Conceptual)                            ข. (Commanding)
ค. (Coordinating)                           ง. (Controlling)
6. องค์ประกอบของการบริหารสำคัญ 5 ประการ (POCCC) ที่สะท้อนถึงหน้าที่ หรือกระบวนการบริหาร
ตัว C ตัวสุดท้ายหมายถึงข้อใด
ก.      (Conceptual)                           ข. (Commanding)
ค. (Coordinating)                           ง. (Controlling)
7. POSDCORB” เป็นอักษรย่อของกระบวนการบริหารเป็นผลงานของใคร
          ก. Frederick W Taylor                    ข. Henri Fayol
          ค. Henry L. Gantt                         . Luther Gulick และ Lyndall Urwick
8. POSDCORB” เป็นอักษรย่อของกระบวนการบริหาร อักษร C ย่อมาจากคำว่าอะไร
ก. (Conceptual)                            ข. (Commanding)
ค. (Coordinating)                          ง. (Controlling)
9. หนังสือ ชื่อ Principles of Scientific Management เป็นผลงานเขียนของใคร
          ก. Frederick W Taylor                    ข. Henri Fayol
          ค. Henry L. Gantt                         . Luther Gulick และ Lyndall Urwick
10. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการบริหารแบบวิทยาศาสตร์
          ก. มีการเน้นที่การเพิ่มผลผลิตและประสิทธิภาพ
            ข. ไม่สนใจเรื่องความชำนาญเฉพาะทางในการเพิ่มผลผลิต
          ค. ปรับปรุงเครื่องมือ วิธีการและสภาพการทำงาน
          ง. เงินเท่านั้นเป็นรางวัลที่กระตุ้นคนงานให้เพิ่มผลผลิต หรือทำให้ผลผลิตต่ำ
11.การบริหารที่เน้นการเพิ่มผลผลิตและปรับปรุงประสิทธิภาพของการทำงานเป็นแนวคิดการบริหารยุคใด
ก. ยุคการบริหารแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Management)
ข. ยุคมนุษยสัมพันธ์ (Human Relations)
ค. ยุคการบริหารเชิงพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral Science Management)
ง. ยุคการบริหารเชิงระบบ (Systematic Approach Management)
12. หลักการที่สำคัญของ Frederick W. Taylor ว่าด้วยการนำเอาหลักการด้าน วิทยาศาสตร์มาใช้ใน
การจัดการนั้น มีอยู่ 4 ข้อ ยกเว้นข้อใด ?
ก. มีการคัดเลือกพนักงาน ฝึกอบรมพนักงาน และพัฒนาพนักงานอย่างมีหลักเกณฑ์
ข. แบ่งงานและความรับผิดชอบอย่างเท่าเทียมกันระหว่างฝ่ายจัดการและคนงาน ใครถนัดทางใดก็มุ่งสู่ทางนั้น
ค. ศึกษาลักษณะองค์ประกอบของงานแต่ละคนในลักษณะของการมีหลักการวิธีการรวม ทั้งมีการ ทดสอบทดลอง เพื่อให้ได้สิ่งที่เป็นหลัก
ง. พนักงานในโรงงานต้องมีทักษะและความสามารถที่จะช่วยเหลือกันได้ หากพนักงาน ผู้ใดไม่สามารถปฏิบัติงานได้
13. ความสำคัญของการทำงานขึ้นอยู่กับคนที่ปฏิบัติงานด้วย เพราะคนมีชีวิตจิตใจ มีความคิดต้องการ
การยอมรับ ต้องการกำลังใจในการทำงาน  เป็นแนวคิดการบริหารยุคใด
ก. ยุคการบริหารแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Management)
ข. ยุคมนุษยสัมพันธ์ (Human Relations)
ค. ยุคการบริหารเชิงพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral Science Management)
ง. ยุคการบริหารเชิงระบบ (Systematic Approach Management)


14. ใครเป็นผู้นำแนวคิดการแก้ปัญหาการบริหารงานโดยกระบวนการกลุ่มมาใช้
ก. Mary Parker Follett                             ข. Rensis Likert
ค. Max webber                                      ง. Abraham Maslow
15. ระบบการบริหาร 4 แบบ (Four Management Systems) เป็นผลงานของใคร
ก. Mary Parker Follett                    ข. Rensis Likert
ค. Max webber                                      ง. Abraham Maslow
16. ข้อใดไม่ใช่  ระบบการบริหาร 4 แบบ (Four Management Systems)
ก.  แบบเผด็จการ (Exploitive-Authoritative)
ข. แบบเผด็จการแบบมีศิลป์ (Benevolent-Authoritative)
ค. แบบประชาธิปไตย (Democracy)
ง. แบบการมีส่วนร่วมของกลุ่ม (Group Participative)
17. การศึกษาของ Hawthorne ได้ชี้ให้เห็นว่ายังมีองค์ประกอบอื่นๆ อีกมากที่มีความสำคัญต่องาน นอกจากเงินและสภาพการทำงาน  เป็นแนวคิดการบริหารยุคใด
ก. ยุคการบริหารแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Management)
ข. ยุคมนุษยสัมพันธ์ (Human Relations)
ค. ยุคการบริหารเชิงพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral Science Management)
ง. ยุคการบริหารเชิงระบบ (Systematic Approach Management)
18. แนวความคิดการบริหารแบบระบบราชการ (Bureaucracy) เป็นแนวคิดการบริหารยุคใด
ก. ยุคการบริหารแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Management)
ข. ยุคมนุษยสัมพันธ์ (Human Relations)
ค. ยุคการบริหารเชิงพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral Science Management)
ง. ยุคการบริหารเชิงระบบ (Systematic Approach Management)
19. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของการบริหารระบบราชการ
          ก. องค์การกำหนดสายการบังคับบัญชาชัดเจน และมีกฎมีระเบียบ ข้อบังคับในการปฏิบัติงาน
          ข. องค์การกำหนดตำแหน่งและอำนาจหน้าที่ของแต่ละคนอย่างชัดเจน
ค. มีการทำงานกันตามความชำนาญเฉพาะด้าน และมีระบบการจูงใจในการทำงาน
ง. มีระบบความสัมพันธ์ภายในองค์การอย่างไม่เป็นทางการ มีการติดต่อกันส่วนตัว
20. ใครเป็นบิดาแนวความคิดการบริหารแบบระบบราชการ (Bureaucracy)
ก. Mary Parker Follett                    ข. Rensis Likert
ค. Max webber                               ง. Abraham Maslow
21. ใครเป็นเจ้าของทฤษฎีระดับขั้นความต้องการ (Need Hierarchy) ของมนุษย์
ก. Mary Parker Follett                    ข. Rensis Likert
ค. Max webber                                         ง. Abraham Maslow

22. การที่ท่านมาสอบเป็นผู้บริหารสถานศึกษา ความต้องการของท่านอยู่ลำดับขั้นใดของมาสโลว์
ก. ความต้องการความปลอดภัย (Safety Needs)
ข.  ความต้องการทางสังคม (Social Needs)
ค. ความต้องการยกย่องชื่อเสียง (Esteem Needs)      
ง. ความต้องการบรรลุถึงศักยภาพของตน (Self-actualization)
23. ทฤษฎีใดเป็นพื้นฐานของการพัฒนาระบบการบริหารจัดการสมัยใหม่
          ก. ทฤษฎี X                                  ข. ทฤษฎี Y
          ค. ทฤษฎีระดับขั้นความต้องกา            ง. ทฤษฎีการจูงใจสองปัจจัย
24. ใครเป็นเจ้าของทฤษฎี  X และ ทฤษฎี Y
ก. Adam Smith                              ข. Frederick W Taylor
ค. Harry L. Gantt                                 ง. Douglas McGregor
25. การจัดรูปแบบองค์การที่มีการควบคุมและ ติดตามผู้ปฏิบัติงาน อย่างใกล้ชิด สอดคล้องกับทฤษฎีใด
          ก. ทฤษฎี X                                  ข. ทฤษฎี Y
          ค. ทฤษฎี Z                                  ง. ทฤษฎีการจูงใจสองปัจจัย
26. การจัดรูปแบบองค์การที่มีการให้ความไว้วางใจ และให้อิสระแก่ผู้ปฏิบัติงาน สอดคล้องกับทฤษฎีใด
          ก. ทฤษฎี X                                  ข. ทฤษฎี Y
          ค. ทฤษฎี Z                                  ง. ทฤษฎีการจูงใจสองปัจจัย
27. องค์การที่รวมศูนย์อำนาจไว้ที่ผู้บริหาร เป็นรูปแบบที่สอดคล้องกับแนวคิดที่เน้น การควบคุมและติดตามการทางานของผู้ปฏิบัติงานโดยผู้บริหาร และสอดคล้องกับทฤษฎีใด
          ก. ทฤษฎี X                                  ข. ทฤษฎี Y
          ค. ทฤษฎี Z                                  ง. ทฤษฎีการจูงใจสองปัจจัย
28. องค์การที่กระจายอำนาจหรือความรับผิดชอบไปสู่ผู้ปฏิบัติ สอดคล้องกับแนวคิด แบบการพึ่งพาความชำนาญงานของซึ่งกันและกัน และสอดคล้องกับทฤษฏีใด
          ก. ทฤษฎี X                                  ข. ทฤษฎี Y
          ค. ทฤษฎี Z                                  ง. ทฤษฎีการจูงใจสองปัจจัย
 29. บุคคลต่อไปนี้ใครได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่งแนวความคิดเกี่ยวกับการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ ?
ก. Adam Smith                              ข. Frederick W Taylor
ค. Harry L. Gantt                                 ง. Douglas McGregor
30. ใครเป็นเจ้าของทฤษฎี 2 ปัจจัย (Two Factors Theory)
ก. Douglas McGregor                              ข. Frederick Herzberg
ค. Frederick W. Taylor                             ง. Henri Fayol


31. ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยภายนอก (Hygiene Factors) ตามทฤษฎี 2 ปัจจัย (Two Factors Theory)
ก. การทำงานบรรลุผลสำเร็จ               ข.  การได้รับการยอมรับ
ค. ความก้าวหน้าในงาน                    ง. ค่าจ้าง/เงินเดือน/สวัสดิการ
32. ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยภายใน (Motivation Factors) ตามทฤษฎี 2 ปัจจัย (Two Factors Theory)
ก. นโยบายขององค์กร                      ข. การบังคับบัญชา
ค. การเจริญเติบโต                        ง. ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน
33. ข้อใดไม่ใช่แนวคิดของ Frederick Herzberg
ก. มีการทำงานกันตามความชำนาญเฉพาะด้าน และมีระบบการจูงใจในการทำงาน
ก.      องค์กรควรจะให้คนทำงานที่ท้าทายอย่างเต็มความสามารถ
ข.      พนักงานที่ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพจะต้องได้รับการเพิ่มความรับผิดชอบให้สูงขึ้น
ง. พนักงานที่ทำงานได้เต็มความสามารถจะต้องได้รับการเพิ่มความรับผิดชอบให้สูงขึ้น
34. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะสำคัญของระบบ
ก. ระบบหนึ่ง ๆ ย่อมเป็นระบบย่อยของระบบที่ใหญ่กว่า
ข. ระบบทุกระบบมีจุดมุ่งหมายเฉพาะ
ค. มีการกำหนดโครงสร้างของระบบย่อยมีความสัมพันธ์กัน
ง. การเปลี่ยนแปลงในระบบหนึ่งย่อมไม่มีผลกระทบต่อระบบอื่น ๆ
35. การบริหารเชิงพฤติกรรมศาสตร์ จะพิจารณาองค์การในฐานะระบบสังคมจิตวิทยา (Psycho-Social System) มุ่งพิจารณาในเรื่องของบุคคลและพฤติกรรมของบุคคล ข้อใดไม่ใช่แนวคิดสำคัญของการบริหารเชิงพฤติกรรมศาสตร์
ก. ความพอใจในผลงานทำให้เกิดการเพิ่มประสิทธิภาพของงาน
ข. พัฒนาระบบการติดต่อสื่อสารระหว่างระดับต่าง ๆ ในหน่วยงาน
ค. ผู้บริหารมีทักษะทางสังคมและความชำนาญทางเทคนิค
ง. องค์การกำหนดตำแหน่งและอำนาจหน้าที่ของแต่ละคนอย่างชัดเจน
36. แสดงความสัมพันธ์แบบสองทาง มีข้อมูลย้อนกลับเพื่อแก้ไขข้อผิดพลาด ถือว่าองค์การมิได้อยู่โดดเดี่ยวโดยลำพัง แต่องค์การมีอิทธิพลต่อสภาพแวดล้อมภายนอก และในขณะเดียวกันก็ได้รับอิทธิพลจากสภาพแวดล้อมภายนอกด้วย สอดคล้องกับข้อใด
          ก. ระบบเปิด (Closed-loop System)    ข. ระบบเปิด (Opened-loop System)
          ค. ระบบผสม (Mixed - loop System)   ง. ถูกทุกข้อ
37. แสดงความสัมพันธ์แบบทางเดียวระหว่างเหตุผล จะเน้นและสนใจเฉพาะภายในระบบเท่านั้น
ถือว่าองค์การย่อมไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อมภายนอก  สอดคล้องกับข้อใด
          ก. ระบบเปิด (Closed-loop System)   ข. ระบบเปิด (Opened-loop System)
          ค. ระบบผสม (Mixed - loop System)   ง. ถูกทุกข้อ


38. ข้อใดไม่ใช่หลักสำคัญของทฤษฎี A
ก. Individualism มีความรับผิดชอบในหน่วยงานสูง
ข. Short Term Employment คือ การจ้างงานในระยะสั้น
ค.  Individual Decision Making สูง มีความมั่นใจในการตัดสินใจ
ง. มีการเลื่อนตำแหน่ง มีความผูกพันกัน
39. ทฤษฎี A เป็นทฤษฎีว่าด้วยการบริหารจัดการร่วมสมัยตามแบบของประเทศใด
          ก. ญี่ปุ่น                                       ข. สหรัฐอเมริกา
          ค. ฝรั่งเศส                                    ง. เยอรมัน
40. ทฤษฎี J เป็นทฤษฎีว่าด้วยการบริหารจัดการร่วมสมัยตามแบบของประเทศใด
          ก. ญี่ปุ่น                                      ข. สหรัฐอเมริกา
          ค. ฝรั่งเศส                                    ง. เยอรมัน
41. ข้อใดไม่ใช่หลักสำคัญของทฤษฎี J
ก. มีความมั่นใจในการตัดสินใจ        
ข. การตัดสินที่ต้องได้รับการยอมรับจากที่ประชุม
ค. การจ้างงานตลอดชีวิต                  
ง. การเลื่อนตำแหน่ง มีความผูกพันกัน
42.  ข้อใดไม่หลักการของทฤษฎีร่วมสมัยที่เรียกว่า Blend Together หรือทฤษฎี Z ซึ่งเป็นแนวคิด
 ของการบริหารจัดการเชิงจินตนาการ
ก.      การจ้างงานระยะยาวขึ้น              
ข. จะต้องมีความรับผิดชอบส่วนบุคคล
ค. ความพอใจในผลงานทำให้เกิดการเพิ่มประสิทธิภาพของงาน    
ง. การตัดสินใจต้องทำเป็นทีม
43. ใครเป็นเจ้าของแนวคิดทฤษฎี Z
ก. Adam Smith                                       ข. Frederick W Taylor
ค. Harry L. Gantt                                             ง. William Ouchi
44. การพัฒนาผู้นำการเปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับการกระจายอำนาจ สำหรับผู้บริหารการศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษา ของ สพฐ.ใช้หลักการบริหารการเปลี่ยนแปลงของใครมากที่สุด
ก. W. Edward Deming                              ข. Luther Gulick
ค. Michael  Fullan                                   ง. Henri Fayol




45. การบริหารการเปลี่ยนแปลงตามแนวคิดของไมเคิลฟูแลนมีกี่โมดูล
ก. 4 โมดูล                                             ข. 5 โมดูล
ค. 6 โมดูล                                             ง. 7 โมดูล


46. ปัจจัยใดสำคัญที่สุดที่ขับเคลื่อนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงตามแนวคิดของ ไมเคิล ฟูแลน
ก. การสร้างเป้าหมายทางคุณธรรม               ข. การสร้างศักยภาพ
ค. ความเข้าใจกระบวนการของการเปลี่ยนแปลง  ง. เสริมสร้างการพัฒนา Tri-Level
47. ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยพื้นฐานตามแนวคิดการบริหารการเปลี่ยนแปลงของ ไมเคิล ฟูแลน
ก. การสร้างเป้าหมายทางคุณธรรม                 ข. การสร้างศักยภาพ
ค. ความเข้าใจกระบวนการของการเปลี่ยนแปลง  ง. เสริมสร้างการพัฒนา Tri-Level
48. ความเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง โดย collins ได้ลำดับความเป็นผู้นำไว้มีกี่ขั้น
          ก. 2 ขั้น                   ข. 3 ขั้น                            ค. 4 ขั้น                   ง. 5 ขั้น
49. ข้อใดอธิบายเกี่ยวข้องกับผู้นำได้ตรงที่สุด
         ก. ผู้นำจะเกิดขึ้นได้เมื่อได้รับการแต่งตั้งหรือมีการมอบหมายอย่างเป็นชัดเจน
         ข. ผู้นำจะเกิดขึ้นได้เมื่อได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้บริหารระดับสูงสุด
         ค. ผู้นำคือ บุคคลที่บังคับบุคคลอื่นได้
        ง. ผู้นำ คือความสามารถในการนำไปสู่เป้าหมาย
50. ทักษะที่จำเป็นสำหรับผู้บริหารหรือผู้จัดการ ประกอบด้วยทักษะอะไรบ้าง ?
ก. ทักษะด้านความคิด ด้านมนุษยสัมพันธ์ และด้านเทคนิค
ข. ทักษะด้านความคิด ทักษะด้านเทคนิค และด้านความรู้
ค. ทักษะด้านความรู้ ด้านความรู้สึก และด้านมนุษยสัมพันธ์
ง. ทักษะด้านพุทธศึกษา ด้านจริยธรรม และด้านเทคนิค
51. นักบริหารหรือผู้จัดการได้ใช้เวลาเพื่องานใดมากที่สุด ?
ก. งานกำหนดนโยบาย                     ข. งานด้านการวางแผน
          ค. งานจัดองค์การ                           ง. งานวินิจฉัยสั่งการและการแก้ปัญหา
52.
ผู้บริหารระดับสูงควรมีทักษะของผู้นำด้านใดมากที่สุด
ก. ทักษะด้านเทคนิค (Technical Skill)  
ข. ทักษะด้านมนุษย์ (Human Skill)
ค. ทักษะด้านความคิด (Conceptual Skill)
ง. ทักษะการสื่อสาร (communication skill)
53. แนวคิดแบบตาข่าย (Managerial grid) ของเบลคและมูตัน พฤติกรรมผู้นำแบบใดดีที่สุด
             ก. 1.1                                           ข. 1.9                 
             ค. 9.1                                                  ง. 9.9
54. ข้อใดที่ไม่ใช่แนวทางการจัดการศึกษาของผู้นำทางวิชาการ
            ก. เป้าหมาย                                    ข. วิสัยทัศน์          
               ค. ทำนายคาดหวัง                           ง. การจัดการ


55. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับกับการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ
           ก. การบริหารจัดการหลักสูตรและการสอน
           ข. การส่งเสริมบรรยากาศ สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมการเรียนรู้
           ค. การสนับสนุนครูเข้าร่วมเป็นกรรมการระดับต่างๆ
           ง. การพัฒนานักเรียน
56. ข้อใดเป็นพฤติกรรมของผู้นำที่มุ่งด้านมิตรสัมพันธ์
           ก. การมอบหมายงานและความรับผิดชอบ  
           ข. การกำหนดวิธีการทำงาน
           ค. การยอมรับถึงความรู้สึก ความคิด       
          ง. การกำหนดบทบาทของผู้นำและผู้ตาม
57. ข้อใดที่ไม่ใช่เป็นคุณลักษณะเด่นของผู้นำ
          ก. เชื่อมั่นในตนเอง                          ข. รอบรู้ในงาน       
          ค. สืบทอดโดยกำเนิด                     ง. ซื่อสัตย์มีจริยธรรม
58. ข้อใดเป็นพฤติกรรมของผู้นำที่มุ่งผลผลิตหรือมุ่งงาน
          ก. การตัดสินใจที่เกี่ยวกับการทำงาน      ข. กำหนดเป้าหมายการทำงาน
          ค. ใช้วิธีจูงใจ                                   ง. การจัดแบ่งงาน
59. ข้อใดไม่ใช่การเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารทางการศึกษายุคใหม่
          ก. ควบคุม                                      ข. สั่งการ          
          ค. ร่วมมือ                                             ง. เหนือกว่า
60. การคิดแบบใดที่จะสามารถแก้ไขปัญหาที่มีความสลับซับซ้อนได้
           ก. การคิดแบบสังเคราะห์                    ข. การคิดแบบสร้างสรรค์
           ค. การคิดแบบบูรณาการ                     ง. การคิดแบบกลยุทธ์
61. สิทธิตามกฎหมายซึ่งใช้ทรัพยากรสำหรับการทำงานให้บรรลุวัตถุประสงค์เรียกว่าอะไร
           ก. อำนาจ                                            ข. อำนาจหน้าที่       
ค. ความรับผิดชอบ                            ง. ภารกิจ
62. ประสิทธิภาพในการดำเนินงานขององค์การขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพของอะไร
           ก. กำไรสูง                                        ข. ต้นทุนต่ำ    
           ค. ผลการปฏิบัติของบุคคล                     ง. ความพึงพอใจของลูกค้า หรือผู้ใช้บริการ
63. หลักการบริหารที่เน้นคนและขวัญกำลังใจในการทำงานคือทฤษฎีใด
           ก. คลาสสิก                                       ข. นีโอคลาสสิก         
           ค. สมัยใหม่                                      ง. สังคมวิทยา
64. ข้อใดกล่าวถึงความจำเป็นที่ต้องมีการปฏิรูประบบราชการได้ถูกต้อง
        ก. ความล่าช้า                                       ข. ความไม่มีประสิทธิภาพ
        ค. การไม่ยืดหยุ่น                                    ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
65. ข้อใดกล่าวถึงความหมายของประสิทธิภาพ (Efficiency) ถูกต้องที่สุด
        ก. ผลผลิตเพิ่มขึ้นและปัจจัยเพิ่มขึ้น   
         ข. ผลผลิตที่ได้เท่าเดิมแต่ปัจจัยนำเข้าลดลง
        ค. ผลผลิตลดลงแต่ปัจจัยนำเข้าเพิ่มขึ้น  
        ง. ผลผลิตเท่าเดิมแต่ปัจจัยเพิ่มขึ้น
61. ข้อใดกล่าวถึงความหมายของผลสัมฤทธิ์ได้ถูกต้อง
        ก. ผลสัมฤทธิ์ (Result) = ปัจจัยนำเข้า (Input) + ผลผลิต (Output)
        ข. ผลสัมฤทธิ์ (Result) = ปัจจัยนำเข้า (Input) - ผลผลิต (Output)
         ค. ผลสัมฤทธิ์ (Result) = ผลผลิต (Output) + ผลลัพธ์ (Outcomes)
        ง. ผลสัมฤทธิ์ (Result) = ผลผลิต (Output) - ผลลัพธ์ (Outcomes)
66. ข้อใดกล่าวถึงการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ถูกต้องน้อยที่สุด
       ก. การบริหารที่มุ่งผลผลิตและผลลัพธ์
       ข. การบริหารที่มีตัวชี้วัดผลการดำเนินงานที่เป็นรูปธรรม
       ค. การบริหารที่ทุกคนในองค์การมีส่วนร่วมกันทำงาน
       ง. การบริหารที่ยึดกฎระเบียบในการดำเนินงาน
67. ข้อใดกล่าวถึงความหมายปัจจัยหลักความสำเร็จ (CSFs Critical Success Factor)
ไม่ถูกต้อง
       ก. สิ่งที่องค์การต้องดำเนินการเพื่อให้งานสำเร็จ
       ข. ที่องค์การต้องดำเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์ขององค์การ
       ค. สิ่งที่องค์การต้องดำเนินการเพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์
       ง. สิ่งที่องค์การต้องดำเนินการเพื่อรองรับการประเมินภายนอก
68. การกำหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานหลัก (KPI) ที่ดีต้องมีลักษณะเฉพาะเจาะจงและชัดเจนตรงกับหลักการ SMART ข้อใด
        ก. Specific                ข. Measurable             ค. Achievable          ง. Realistic
69. ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานหลัก (KPI) มีความสัมพันธ์กับปัจจัยหลักความสำเร็จ CSFs) ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุด
       ก. KPI ใช้วัดความก้าวหน้าการปฏิบัติงานตาม CSFs
       ข. KPI ใช้ประเมินกระบวนการ CSFs
       ค. KPI ใช้จำแนกขนาดของ CSFs
       ง. KPI ใช้วัดความสามารถของ CSFs
70. “ครูสามารถจัดการเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อได้จากข้อความนี้ท่านว่าสัมพันธ์กับข้อใด
        ก. ปัจจัยหลักความสำเร็จ                                 ข. พันธกิจ   
        ค. ตัวชี้วัดผลผลิต                                     ง. ตัวชี้วัดผลลัพธ์
71. การวัดผลการปฏิบัติงาน (Performance Measurement) สิ่งที่จะต้องนำไปเปรียบเทียบท่านคิดว่าข้อใดถูกต้องที่สุด
          ก. ปัจจัยนำเข้า                        ข. เป้าหมาย        
          ค. กระบวนการ                     ง. วิสัยทัศน์
72. ข้อใดกล่าวถึงการประเมินโครงการได้ถูกต้องที่สุด
          ก. ความงดงาม                     ข. ความละเอียด ซับซ้อน  
           ค. ความทันสมัย                      ง. ความคุ้มค่า
73. การตรวจสอบผลการปฏิบัติงานตามหลักการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ข้อใดกล่าวถูกต้อง
          ก. เน้นกระบวนการทำงาน        ข. เน้นผลสัมฤทธิ์
          ค. เน้นปัจจัยนำเข้า                 ง. เน้นความถูกต้องตามระเบียบราชการ
74. ข้อใดกล่าวถึงประโยชน์การติดตามผลการปฏิบัติงานไม่ถูกต้อง
          ก. เพิ่มความสำคัญของผู้บังคับบัญชา ข. ปรับปรุงการกำหนดนโยบายการทำงาน
          ค. ช่วยให้มองเห็นภาพรวมการทำงานทั้งระบบ   ง. สร้างขวัญกำลังกับผู้เกี่ยวข้อง
75. ข้อใดกล่าวถึงกระบวนการจัดทำแผนกลยุทธ์ขององค์การได้ถูกต้องที่สุด
         ก. การจัดทำแผนกลยุทธ์เป็นหน้าที่ของผู้บริหารระดับสูง
           ข. การจัดทำแผนกลยุทธ์ทุกคนในองค์การต้องมีส่วนรวม
         ค. การจัดทำสอนกลยุทธ์ในองค์การขนาดเล็กไม่จำเป็นต้องดำเนินการ
         ง. การจัดทำแผนกลยุทธ์ควรให้ผู้เชี่ยวชาญด้านกลยุทธ์เป็นผู้รับผิดชอบจัดทำ
76. “ร้อยละของนักเรียนที่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีการศึกษา 2557 ที่เข้าศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาข้อความนี้กล่าวถึงตัวชี้วัดตามข้อใด
         ก. ตัวชี้วัดปัจจัยนำเข้า                           ข. ตัวชี้วัดผลผลิต
         ค. ตัวชี้วัดผลลัพธ์                               ง. ตัวชี้วัดประสิทธิภาพ
77. ข้อใดกล่าวถึงลักษณะขององค์การที่ใช้ระบบการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ได้ถูกต้อง
         ก. มีพันธกิจ วัตถุประสงค์และเป้าหมายชัดเจน
         ข. การพิจารณางบประมาณยึดผลสัมฤทธิ์ของงานเป็นหลัก
         ค. มีการกระจายอำนาจการตัดสินใจให้ผู้เกี่ยวข้อง
         ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
78. ข้อโดกล่าวถึงลักษณะเด่นของ เป้าประสงค์ได้ถูกต้อง
         ก. เป็นผลผลิต                               ข. เป็นผลลัพธ์     
         ค. เป็นกระบวนการ                           ง. เป็นปัจจัยนำเข้า
79. การเขียนโครงการที่สอดคล้องกับหลักการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ ข้อใดลักษณะเด่นที่สุด
          ก. มีการระบุเป้าหมายโครงการชัดเจน     ข. มีการระบุผลผลิตและผลลัพธ์
           ค. มีการระบุงบประมาณชัดเจน             ง. มีการระบุกลยุทธ์การดำเนินงานชัดเจน

80. Robert L. Katz ได้จำแนกทักษะที่สำคัญของผู้บริหารออกเป็น 3 ด้าน ยกเว้นข้อใด
ก. ทักษะด้านเทคนิค (Technical Skill)            ข. ทักษะด้านมนุษย์ (Human Skill)
ค. ทักษะด้านความคิด (Conceptual Skill)        ง. ทักษะการสื่อสาร (communication skill)
81. ทักษะทั้ง 3 ด้านเปรียบเทียบได้ตามข้อใด
          ก. ภูมิรู้  ภูมิธรรม  ภูมิฐาน                          ข. เก่งคิด เก่งคน เก่งงาน
          ค. คิดดี  พูดดี  ทำดี                                  ง. ดูคนออก  บอกคนได้  ใช้คนเป็น
82. ผู้บริหารระดับต้นจะใช้ทักษะด้านใดมากที่สุด
ก. ทักษะด้านเทคนิค (Technical Skill)         ข. ทักษะด้านมนุษย์ (Human Skill)
ค. ทักษะด้านความคิด (Conceptual Skill)        ง. ทักษะการสื่อสาร (communication skill)
83. ผู้บริหารระดับสูงจะใช้ทักษะด้านใดมากที่สุด
ก. ทักษะด้านเทคนิค (Technical Skill)            ข. ทักษะด้านมนุษย์ (Human Skill)
ค. ทักษะด้านความคิด (Conceptual Skill)     ง. ทักษะการสื่อสาร (communication skill)
84. การบริหารเชิงระบบ คือ ปัจจัยนาเข้า (input) กระบวนการ (process) ผลผลิต (output) และผลลัพธ์ (Outcome) ครูจัดการเรียนการสอน อยู่ในส่วนใด
          ก. Input                                                         ข. Process              
          ค. Output                                              ง. Outcome
85. จำนวนนักเรียนจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในปีการศึกษา 2557 อยู่ในส่วนใด
          ก. Input                                                 ข. Process             
          ค. Output                                              ง. Outcome
86. นักเรียนจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในปีการศึกษา 2557 สามารถสอบเรียนต่อได้ทุกคนและเป็นคนดีของสังคม อยู่ในส่วนใด
          ก. Input                                                         ข. Process              
          ค. Output                                                    ง. Outcome
87. การเปรียบเทียบระหว่างปัจจัยนำเข้า(Inputs)กับผลผลิต (Output)สอดคล้องกับความหมายข้อใด
ก.      ความประหยัด (Economy)
ข.      ความมีประสิทธิภาพ (Efficiency)
ค.      ความมีคุณภาพ (Quality)
ง.       ความมีประสิทธิผล (Effectiveness)
88. การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์สามารถอธิบายได้ด้วยข้อความต่างๆต่อไปนี้ยกเว้นข้อใด
ก.     การบริหารทรัพยากรที่เน้นการมีส่วนร่วม
ข.      การจัดหาให้ได้ทรัพยากรมาบริหารอย่างประหยัด
ค.      การบริหารทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
ง.       ได้ผลงานที่บรรลุเป้าหมายขององค์กร

89. การเปรียบเทียบระหว่างวัตถุประสงค์กับผลลัพธ์ของโครงการสอดคล้องกับความหมายของข้อใด
ก.      ความมีประสิทธิภาพ (Efficiency)
ข.      ความมีประสิทธิผล (Effectiveness)
ค.      ความมีคุณภาพ (Quality)
ง.       ความประหยัด (Economy)
90. การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ คือการบริหารงานที่เน้นผลลัพธ์โดยมีตัวชี้วัดที่เป็นรูปธรรมสอดคล้องกับสมการข้อใด
ก.      (Objectives) กับ (Outputs)
ข.      (Inputs) กับ (Outcomes)
ค.     (Outputs) กับ (Outcomes)
ง.       (Objectives) กับ(Outcomes)
91. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของโรงเรียนที่บริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
ก.      มีวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายที่เป็นรูปธรรม มีความชัดเจน
ข.      การจัดสรรงบประมาณ ให้ความสำคัญไปที่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ค.     การตัดสินใจด้านการเงิน บุคลากร และจัดการทั่วไปขึ้นอยู่กับผู้อำนวยการโรงเรียนเป็นส่วนใหญ่
ง.       มีวัฒนธรรมการทำงานร่วมกันและสร้างสรรค์
92. เงื่อนไขความสำเร็จของการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ประกอบด้วยปัจจัยต่างๆ ยกเว้นข้อใด
ก.      ผู้บริหารระดับสูงให้ความเข้าใจและสนับสนุน
ข.      การจัดระบบข้อมูลผลการปฏิบัติงาน
ค.      การพัฒนาบุคลากรและองค์กร
ง.       การกำหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน
93. เทคนิคใดของการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ที่ใช้ปรับปรุงผลสัมฤทธิ์ของงานและกระบวนการทำงานโดยเทียบวิธีที่ปฏิบัติที่ดีที่สุด
(Best  Practices)
ก.      Performance Auditing
ข.      Benchmarking
ค.      Program  Evaluation
ง.       Service  Quality
94. เทคนิคการบริหารใดที่ช่วยให้การดำเนินงานเพื่อมุ่งผลสัมฤทธิ์ประสบความสำเร็จ
ก.      การบริหารความเสี่ยง (Risk Management )
ข.      การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
ค.      การบริหารคุณภาพโดยรวม (Total Quality Management : TQM)
ง.       ถูกทุกข้อ
95.  ข้อใดไม่ใช่ลักษณะองค์กรที่บริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์
ก.      มีการกระจายอำนาจการตัดสินใจ การบริหารเงิน  บริหารคนสู่หน่วยงานระดับล่าง
ข.      การตัดสินใจในการจัดสรรงบประมาณให้หน่วยงานจะคิดตามปริมาณงานที่รับผิดชอบเป็นหลัก
ค.      ผู้บริหารทุกระดับในองค์กรต่างมีเป้าหมายของการทำงานที่ชัดเจน
ง.       เป้าหมายจะวัดได้อย่างเป็นรูปธรรมโดยมีตัวชี้วัดที่สามารถวัดได้
96. ข้อใดเป็นลักษณะที่สำคัญขององค์กรที่บริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์
ก.      เจ้าหน้าที่มีขวัญกำลังใจ
ข.      มีวัฒนธรรมและอุดมการณ์ร่วมกันในการทำงานที่สร้างสรรค์
ค.      มีระบบสนับสนุนการทำงาน เรื่องระเบียบการทำงาน สถานที่ อุปกรณ์ในการทำงาน
ง.       ถูกทุกข้อ
97. ข้อใดไม่ใช่กระบวนการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์
ก.      กำหนดวัตถุประสงค์และการวางแผน
ข.      การจัดทำระบบข้อมูลผลการปฏิบัติงาน
ค.      กระบวนการมอบหมายงานและหน้าที่รับผิดชอบ
ง.       ตรวจสอบและแก้ไขปรับปรุงงานอย่างเป็นระบบ
98. ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน (Key Performance Indicators) ที่มักใช้ในระบบวัดผลสัมฤทธิ์ของโครงการภาครัฐประกอบด้วยตัวชี้วัด 5 ประเภท ยกเว้นข้อใด
          ก. ข้อสนเทศเชิงอธิบาย (Explanatory Indicators)
          ข. ประสิทธิภาพและความคุ้มค่า (Efficiency and Cost-effectiveness)
            ค. กิจกรรมหรือกระบวนการทำงาน (Process)
          ง. ปัจจัยนำเข้า (Input Indicators)
99.  ข้อใดไม่ใช่ขั้นตอนการติดตามประเมินระบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
ก.     การกำหนดพันธกิจและวัตถุประสงค์
ข.      การกำหนดผลสัมฤทธิ์ที่ต้องการ
ค.      การกำหนดตัวชี้วัดผลสำเร็จของงาน
ง.       การกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน
100. หากท่านจะสร้างทีมงานในโรงเรียนเพื่อทำโครงการใดๆให้สำเร็จกระบวนการแรกน่าจะเป็นข้อใด
. การสลายพฤติกรรมของคนในทีม
. การระดมความคิดเพื่อวางแผนทำงาน
. การสร้างการปฏิสัมพันธ์ในทีม
. การประเมินผลงานของทีม


101. ข้อใดไม่ใช่เป็นลักษณะของทีมที่ประสบผลสำเร็จ
ก.      มีความเป็นหนึ่งเดียว
ข.      จัดการด้วยตนเองและพึ่งตนเอง
ค.     รู้จักนำกระบวนการจูงใจมาใช้
ง.       ขนาดของกลุ่มที่พอเหมาะ
102. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการวิเคราะห์องค์กรหรือโรงเรียน
          ก. ประกอบด้วย  5 ขั้นตอน ได้แก่ การวิเคราะห์ศักยภาพของโรงเรียน  การกำหนดวิสัยทัศน์ การร่วมดำเนินการ  การควบคุม และการร่วมประเมินผล
ข.      ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ได้แก่ การกำหนดวิสัยทัศน์  การร่วมวางแผนดำเนินการ
การร่วมดำเนินการ  การร่วมประเมินผลและการร่วมปรับปรุงพัฒนา
ค.     ประกอบ 6 ขั้นตอน ได้แก่ การวิเคราะห์ศักยภาพของโรงเรียน การกำหนดวิสัยทัศน์
การร่วมวางแผนดำเนินการ  การร่วมดำเนินการ  การร่วมประเมินผลและการร่วมปรับปรุงพัฒนา
ง.       ประกอบ 6 ขั้นตอน  ได้แก่ การกำหนดวิสัยทัศน์ การร่วมวางแผนดำเนินการ
การร่วมดำเนินการ การควบคุม  การร่วมประเมินผลและการร่วมปรับปรุงพัฒนา
103.  การกำหนดวิสัยทัศน์หรือยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงเรียนประกอบด้วย ยกเว้นขั้นตอนใด
ก.      การวิเคราะห์สถานภาพของสถานศึกษา
ข.      การควบคุมกลยุทธ์
ค.      การประเมินแผนกลยุทธ์
ง.       การปรับปรุงและพัฒนาแผนกลยุทธ์
104. แผนกลยุทธ์หรือแผนพัฒนาสถานศึกษากำหนดระยะกี่ปี
ก.      1-3 ปี
ข.      2-5 ปี
ค.     3-5 ปี
ง.       5-10 ปี
105. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับองค์ประกอบของการคิดวิเคราะห์
ก.     ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบ คือ ความสามารถในการใช้เหตุผลและการตั้งคำถาม
ข.      ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบ คือ การแยกแยะ และการรวบรวม
ค.      ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ คือ การตั้งสมมติฐานและการสร้างความคิดรวบยอด
ง.       ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ คือ การระบุประเด็นปัญหาและการรวบรวมข้อมูล
106. ทักษะการคิดเป็นตัวดึงเอาทักษะด้านใด มาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้เหมาะสมกับสถานการณ์มากที่สุด
ก.     ทักษะด้านความรู้ (Technical Skill)
ข.      ทักษะด้านคน (Human Skill)
ค.      ทักษะด้านมโนทัศน์ (Conceptual Skill)
ง.       ถูกทุกข้อ
107. ผู้บริหารสถานศึกษาจำเป็นต้องคิดทุกวันเพื่อให้เกิดงานสร้างสรรค์  และเหตุที่ต้องคิดเพราะอะไร
ก.      จำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงวิธีการทำงาน
ข.      เพื่อให้สามารถทำงานได้ทันตามเวลากำหนด
ค.      เพื่อนำโรงเรียนไปสู่เป้าหมายที่ต้องการ
ง.       ถูกทุกข้อ
108  ผู้บริหารโรงเรียนจำเป็นต้องมีความรู้ความคิด มีปัญญาและมีวิสัยทัศน์ ซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้ด้วยอะไร
ก.      การเข้าร่วมประชุมสัมมนา
ข.      การศึกษาและเรียนรู้
ค.      การร่วมอภิปรายกับคนอื่น
ง.       ถูกทุกข้อ
109. ข้อใดเป็นความหมายของการพัฒนาศักยภาพบุคลากร (Caring & Developing Others-DEV) ตามที่
ก.ค.ศ.กำหนด
ก.      ความตั้งใจจะส่งเสริมการเรียนรู้หรือการพัฒนาผู้อื่นในระยะยาว  โดยมุ่งเน้นที่เจตนาที่
จะพัฒนาผู้อื่นและผลที่เกิดขึ้นมากกว่าเพียงปฏิบัติไปตามหน้าที่
ข.      อำนาจหรือคุณสมบัติที่แฝงอยู่ในสิ่งต่างๆอาจทำให้พัฒนาหรือให้ปรากฏเป็นที่ประจักษ์ได้
ค.      กระบวนการในการพัฒนาคุณภาพของบุคลากรให้มีความรู้และความสามารถ มีทักษะและ
เจตคติที่ดีต่อองค์กร  ตลอดจนการมีความรู้เท่าทันเทคโนโลยี การปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมและสังคมได้เป็นอย่างดี  ในอันที่จะทำให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพภายใต้ความพึงพอใจของบุคลากรภายในองค์กร
ง.       ความสามารถในการให้คำปรึกษา แนะนำ และช่วยแก้ปัญหาให้แก่เพื่อนร่วมงานและ
ผู้เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในการพัฒนาบุคลากร ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง รวมทั้งส่งเสริม สนับสนุนและให้โอกาสผู้ร่วมงานได้พัฒนาในรูปแบบต่างๆ
110.  ขั้นตอนแรกของกระบวนการพัฒนาบุคลากรคือข้อใด
ก.      กำหนดความต้องการในการพัฒนา
ข.      เตรียมแผนพัฒนาบุคลากร
ค.     กำหนดจุดมุ่งหมายและบทบาทของหน่วยงาน
ง.       ดำเนินการพัฒนาบุคลากร
112. ข้อใดเป็นขั้นตอนแรกของการพัฒนาศักยภาพบุคลากรบนพื้นฐาน Competency
ก.     เลือกหัวข้อ Competency ที่ควรได้รับการพัฒนา
ข.      กำหนดพฤติกรรมที่องค์กรคาดหวังที่ครอบคลุม Competency
ค.      กำหนดหัวข้อที่จะนำมาใช้ในการประเมิน Competency
ง.       กำหนดแนวทางการพัฒนาและฝึกอบรม
113. การพัฒนาศักยภาพบุคลากรเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นต่อการดำเนินการสู่ความสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพของทุกองค์การ โดยมีแนวทางพัฒนาบุคลากร 3 วิธี  ยกเว้นข้อใด
ก.      การให้การศึกษาและส่งเสริมให้พัฒนาตนเองโดยใช้วิธีการต่างๆ
ข.      การฝึกอบรมและพัฒนาทั้งในห้องฝึกอบรม นอกห้องฝึกอบรมและภายในองค์กร
ค.      การพัฒนาในงาน เป็นการฝึกอบรมในงานและเรียนรู้ในงานโดยใช้วิธีการต่างๆ
ง.       การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
114.  การประชุมที่ต้องการสร้างประสบการณ์ โดยที่เน้นปฏิบัติมากกกว่าการบรรยายให้ความรู้ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น เพื่อหารูปแบบวิธีการหรือฝึกฝนเทคนิคการทำงานในรูปแบบต่างๆให้สามารถปฏิบัติได้จริง  เป็นรูปแบบการพัฒนาบุคลากรแบบใด
ก.      การจัดสัมมนา (Seminar)
ข.      การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ (Work Shop)
ค.      การอภิปรายแบบ ซิมโพเซียม (Symposium)
ง.       การฝึกปฏิบัติงาน (On the Job Triaging : OJT)
115. การจัดประชุมที่เปิดโอกาสให้มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเหมาะสำหรับกรณีปัญหาที่ต้องการหาข้อสรุปในการแก้ปัญหาในการปฏิบัติงานแบบกว้างๆ เป็นรูปแบบการพัฒนาบุคลากรแบบใด
ก.      การจัดสัมมนา (Seminar)                ข.การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ (Work Shop)
ข.      การสอนงาน  (Coaching)                   ง.การฝึกปฏิบัติงาน (On the Job Triaging : OJT)
116. เป็นการเรียนรู้ถึงวิธีการทำงานจากหัวหน้าหรือผู้บังคับบัญชาขึ้นไป 1 ระดับโดยตรง ด้วยวิธีการแนะนำวิธีการทำงาน การชี้ให้มองเห็นจุดบกพร่อง จุดเด่นในงานเป็นรูปแบบการพัฒนาบุคลากรแบบใด
ก.      การจัดสัมมนา (Seminar)                ข. การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ (Work Shop)
ข.      การสอนงาน  (Coaching)              ง. การฝึกปฏิบัติงาน (On the Job Triaging : OJT)
117.  “ความสามารถในการกำหนดวิสัยทัศน์ ทิศทาง หรือแนวทางการพัฒนาองค์กรที่เป็นรูปธรรม เป็นที่ยอมรับและเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ การยอมรับแนวคิด/วิธีการใหม่เพื่อพัฒนางาน” เป็นความหมายของสมรรถนะใด ตามที่ ก.ค.ศ.กำหนด
ก.      การพัฒนาศักยภาพบุคลากร
ข.      การมีวิสัยทัศน์
ค.      การวิเคราะห์และสังเคราะห์
ง.       การสื่อสารและจูงใจ
118. ข้อใดไม่ใช่ความสำคัญของวิสัยทัศน์
ก.      กำหนดทิศทางที่จะดำเนินชีวิตหรือกิจกรรมขององค์กร
ข.      เป็นแผนปฏิบัติที่แสดงให้เห็นวิธีการที่มุ่งสู่จุดหมายชัดเจน
ค.      กระตุ้นให้สมาชิกทุกคนมีความผูกพัน มุ่งมั่นปฏิบัติตามด้วยความเต็มใจ
ง.       กำหนดมาตรฐานของชีวิตและองค์กร

119. ข้อใดเป็นสมการของคำว่า วิสัยทัศน์
ก . V (Vision)= I (Image) + A (Action)          ข. V (Vision)= I (Inspiring)+A (Action)
ค.      V (Vision)=I (Inspiring) - A (Action)          ง. V (Vision) = I (Image) - A (Action)
120. ข้อใดเป็นกระบวนการสร้างวิสัยทัศน์
ก.     ขั้นเตรียมการ  ดำเนินการ นำวิสัยทัศน์ไปใช้ ประเมินวิสัยทัศน์
ข.      ขั้นเตรียมการ  ขั้นรวบรวมข้อมูล  ขั้นนำวิสัยทัศน์  ขั้นประเมินวิสัยทัศน์
ค.      ขั้นรวบรวมข้อมูลพื้นฐาน  ขั้นวิเคราะห์สถานภาพปัจจุบัน ขั้นดำเนินการ 
ขั้นประเมินวิสัยทัศน์
ง.       ขั้นรวบรวมข้อมูลพื้นฐาน  ดำเนินการ  นำไปใช้  ประเมินผล
121.ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงถูกกระตุ้นให้เกิดขึ้นตามทฤษฎีของใคร
ก.      ทฤษฎีความต้องการของมาสโลว์                      ข. ทฤษฎี X , Y
ค. ทฤษฎีการจูงใจ                                             ง. ทฤษฎีการเสริงแรง
122. เบอร์น ได้กล่าวถึงลักษณะภาวะผู้นำมีลักษณะ 3 ประการ ยกเว้นข้อใด
ก. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Transformational leadership)
ข. ภาวะผู้นำการแลกเปลี่ยน (Transactional leadership)
ค. ภาวะผู้นำแบบจริยธรรม (Moral leadership)
ง. ภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ (Vision leadership)
123.  “ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่ประพฤติตัวเป็นแบบอย่างหรือเป็นโมเดลสำหรับผู้ตาม ผู้นำจะเป็น
ที่ยกย่อง เคารพนับถือ ศรัทธา ไว้วางใจ และทำให้ผู้ตามเกิดความภาคภูมิใจเมื่อได้ร่วมงาน” คือผู้นำรูปแบบใด
ก.     การมีอิทธิพลอย่างอุดมการณ์ (Idealized  Influence or Charisma Leadership :II :CL)
ข.      การสร้างแรงบันดาลใจ (Inspirational Motivation : IM)
ค.      การกระตุ้นทางปัญญา (Intellectual Stimulation : IS)
ง.       ตระหนักถึงความเป็นปัจเจกบุคคล (Individualized Consideration : IC)
124. ผู้นำและผู้ตามแบบใดมีความต้องการอยู่ในระดับขั้นแรกตามทฤษฎีความต้องการเป็นลำดับขั้น
ของมาสโลว์
          ก. Transactional Leadership           . Transformational Leadership
          ค. Moral Leadership                      ง.  Idealized Leadership
125. แบส และ อโวลิโอ ได้แบ่งองค์ประกอบภาวะผู้นำ 3 แบบใหญ่ ยกเว้นข้อใด
ก. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Transformational leadership)
ข. ภาวะผู้นำการแลกเปลี่ยน (Transactional leadership)
ค. ภาวะผู้นำแบบปล่อยตามสบาย (Laissez –faire leadership)
ง. ภาวะผู้นำแบบจริยธรรม (Moral leadership)
126. ลักษณะผู้นำที่กระตุ้นจิตวิญญาณของทีม (Team spirit) ให้มีชีวิตชีวา เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงรูปแบบใด
ก.      การมีอิทธิพลอย่างอุดมการณ์ (Idealized  Influence or Charisma Leadership :II :CL)
ข.      การสร้างแรงบันดาลใจ (Inspirational Motivation : IM)
ค.      การกระตุ้นทางปัญญา (Intellectual Stimulation : IS)
ง.       ตระหนักถึงความเป็นปัจเจกบุคคล (Individualized Consideration : IC)
127.  การเปลี่ยนกรอบ (Reframing) การมองปัญหา เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงรูปแบบใด
ก.      การมีอิทธิพลอย่างอุดมการณ์ (Idealized  Influence or Charisma Leadership :II :CL)
ข.      การสร้างแรงบันดาลใจ (Inspirational Motivation : IM)
ค.     การกระตุ้นทางปัญญา (Intellectual Stimulation : IS)
ง.       ตระหนักถึงความเป็นปัจเจกบุคคล (Individualized Consideration : IC)
128.  ผู้นำจะเป็นโค้ช (Coach) และเป็นที่ปรึกษา(Advisor) ของผู้ตามแต่ละคน เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงรูปแบบใด
ก.      การมีอิทธิพลอย่างอุดมการณ์ (Idealized  Influence or Charisma Leadership :II :CL)
ข.      การสร้างแรงบันดาลใจ (Inspirational Motivation : IM)
ค.      การกระตุ้นทางปัญญา (Intellectual Stimulation : IS)
ง.       ตระหนักถึงความเป็นปัจเจกบุคคล (Individualized Consideration : IC)
129. ส่งสัญญาณให้รู้ว่า ผมห่วงใยคุณนะ จะคอยดูแลให้คุณได้รับผลประโยชน์สูงสุด เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงรูปแบบใด
ก.      การมีอิทธิพลอย่างอุดมการณ์ (Idealized  Influence or Charisma Leadership :II :CL)
ข.      การสร้างแรงบันดาลใจ (Inspirational Motivation : IM)
ค.      การกระตุ้นทางปัญญา (Intellectual Stimulation : IS)
ง.       ตระหนักถึงความเป็นปัจเจกบุคคล (Individualized Consideration : IC)
130. ส่งสัญญาณให้รู้ว่า ถ้าคุณเปลี่ยนความเชื่อเดิมแล้ว........ก็จะ.เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงรูปแบบใด
ก.      การมีอิทธิพลอย่างอุดมการณ์ (Idealized  Influence or Charisma Leadership :II :CL)
ข.      การสร้างแรงบันดาลใจ (Inspirational Motivation : IM)
ค.     การกระตุ้นทางปัญญา (Intellectual Stimulation : IS)
ง.       ตระหนักถึงความเป็นปัจเจกบุคคล (Individualized Consideration : IC)
131. ส่งสัญญาณให้รู้ว่า ถ้าเรายึดตามจุดยืนขององค์การแล้ว อะไรๆก็ไม่เกินกำลังที่จะทำได้ เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงรูปแบบใด
ก.      การมีอิทธิพลอย่างอุดมการณ์ (Idealized  Influence or Charisma Leadership :II :CL)
ข.      การสร้างแรงบันดาลใจ (Inspirational Motivation : IM)
ค.      การกระตุ้นทางปัญญา (Intellectual Stimulation : IS)
ง.       ตระหนักถึงความเป็นปัจเจกบุคคล (Individualized Consideration : IC)
132. ส่งสัญญาณให้รู้ว่า ผมเชื่อว่าสิ่งที่เราทำอยู่นี้ เป็นเรื่องที่ถูกต้องและเหมาะสมแล้วเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงรูปแบบใด
ก.     การมีอิทธิพลอย่างอุดมการณ์ (Idealized  Influence or Charisma Leadership :II :CL)
ข.      การสร้างแรงบันดาลใจ (Inspirational Motivation : IM)
ค.      การกระตุ้นทางปัญญา (Intellectual Stimulation : IS)
ง.       ตระหนักถึงความเป็นปัจเจกบุคคล (Individualized Consideration : IC)
133. แบส และ อโวลิโอ ได้แบ่งรูปแบบภาวะผู้นำแบบแลกเปลี่ยน (Transactional Leadership) ออกเป็น
3 ประเภท ยกเว้นข้อใด
ก. ภาวะผู้นำโดยเสน่หา (Charismatic leadership process)
          ข. ภาวะผู้นำแบบปล่อยตามยะถากรรม (Laissez-Faire: LF)
ค. การบริหารแบบวางเฉย (Management-By-Exception: MBE)
ง.  การให้รางวัลตามสถานการณ์ (Contingent Rewards: CR)
134. “ไม่เป็นไร เราจะทำหรือไม่ ลูกพี่ก็ไม่เคยสนใจอยู่แล้วเป็นภาวะผู้นำแบบแลกเปลี่ยน (Transactional Leadership) รูปแบบใด
ก. ภาวะผู้นำโดยเสน่หา (Charismatic leadership process)
            ข. ภาวะผู้นำแบบปล่อยตามยะถากรรม (Laissez-Faire: LF)
ค. การบริหารแบบวางเฉย (Management-By-Exception: MBE)
ง.  การให้รางวัลตามสถานการณ์ (Contingent Rewards: CR)
135. “เอาอีกแล้ว นายคนนี้ เป็นภาวะผู้นำแบบแลกเปลี่ยน (Transactional Leadership) รูปแบบใด
ก. ภาวะผู้นำโดยเสน่หา (Charismatic leadership process)
          ข. ภาวะผู้นำแบบปล่อยตามยะถากรรม (Laissez-Faire: LF)
ค. การบริหารแบบวางเฉย (Management-By-Exception: MBE)
ง.  การให้รางวัลตามสถานการณ์ (Contingent Rewards: CR)
136. “ถ้าคุณทำได้ตามที่ตกลงไว้ คุณก็จะได้รางวัลเป็นภาวะผู้นำแบบแลกเปลี่ยน (Transactional Leadership) รูปแบบใด
ก. ภาวะผู้นำโดยเสน่หา (Charismatic leadership process)
          ข. ภาวะผู้นำแบบปล่อยตามยะถากรรม (Laissez-Faire: LF)
ค. การบริหารแบบวางเฉย (Management-By-Exception: MBE)
ง.  การให้รางวัลตามสถานการณ์ (Contingent Rewards: CR)
137. Cardona เป็นบุคคลแรกที่เป็นผู้ริเริ่มบุกเบิกแนวความคิดของภาวะผู้นำแบบเหนือชั้นหรือ Transcendental leadership  จะเน้นในเรื่องต่างๆยกเว้นข้อใด
ก. ยึดหลักการพัฒนาจิตใจ (Spiritual development)  ข. ความรู้สึกที่กลมกลืนกัน(Harmony)
ค. จงรักภักดีและเชื่อฟังทำตามผู้นำ (Heroic bias) ง. ความรักในเพื่อนมนุษย์ (Altruistic love)

138. Fry ได้แบ่งภาวะผู้นำแบบเหนือชั้น ออก 4 ด้าน ด้านใดที่ไม่มีในที่ภาวะผู้นำแบบแลกเปลี่ยน (Transactional Leadership) และภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Transformational leadership)
ก. ด้านทางกาย (Physical/Body)             ข.ด้านทางสมอง (Mind) การคิดเชิงตรรกและเหตุผล
ค. ด้านหัวใจ (Heart) อารมณ์และความรู้สึก ง. ด้านจิตใจหรือจิตวิญญาณ (Spiritual)
139. มิติด้านจิตใจของภาวะผู้นำแบบเหนือชั้น มีองค์ประกอบหลักอยู่ 3 ขั้นตอนที่เกื้อกูลยึดโยงต่อเนื่องกันตามลำดับ ยกใดเว้นข้อ
ก. การเอาใจเขามาใส่ใจเรา(Empathy)
ข.      การมี Consciousness ภาวะจิตของความมีสติ ความตระหนักรู้ ความรู้ตัว
ค.      การมี Moral character ผู้นำต้องยึดหลักธรรมประจำใจในการประพฤติตนและดำเนินชีวิต
ง.       การมี Faith มีความศรัทธา ความเลื่อมใส หรือความเชื่ออย่างลึกซึ้ง
140. ข้อใดไม่ใช่ความสำคัญของการบริหารการเปลี่ยนแปลงในภาครัฐ
          ก. ช่วยให้องค์การภาครัฐปรับตัวได้ทันกับสภาพ ปัญหา และข้อเรียกร้อง จากฝ่ายต่างๆ ได้
ข. ช่วยให้สามารถจัดหาทรัพยากรทางการบริหาร
ค. ช่วยให้การดำเนินงานขององค์การเป็นไปอย่างต่อเนื่อง
ง. ช่วยให้รัฐแก้ปัญหาคนว่างงานเพื่อดึงดูดคนเก่งคนดีมาทำงานได้
141. ระบบบริหารงานภาครัฐของไทยต้องเผชิญกับสิ่งท้าทาย ซึ่งเป็นความท้าทายที่ทั้งยิ่งใหญ่และซับซ้อน  ข้อใดไม่ใช่ความท้าทายนั้น
          ก. กระแสความต้องการบริการจากภาครัฐที่มีมากขึ้น และสลับซับซ้อน
ข. กระแสแรงกดดันที่ทำให้รัฐต้องมีขนาดและอำนาจน้อยลง
ค. กระแสความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
ง. กระแสการบริหารจัดการปกครองที่ดี (Good Governance)
142. กระทรวงศึกษาธิการกำลังมีการเปลี่ยนแปลง โดยตั้งเป้าจะแยกเป็นทบวงอุดมศึกษา
ทบวงการศึกษาขั้นพื้นฐาน การเปลี่ยนลักษณะนี้อยู่ในองค์ประกอบการเปลี่ยนแปลงใด
          ก. เทคโนโลยี (Technology)     ข. ระเบียบสังคม (Social Order)
ค. อุดมการณ์ (Ideology)                  ง. แบบแผนวัฒนธรรม (Style)
143. Marvin Weisbord ได้กำหนดปัจจัยที่จะต้องพิจารณาในการปรับเปลี่ยนองค์การไว้ว่า ประกอบด้วยปัจจัยสำคัญ 6 ประการ ซึ่งเรียกว่า Six Box Model  ได้แก่ข้อใด
ก. สภาพแวดล้อม (Environment) จุดมุ่งหมาย (Purposes) 
ข. โครงสร้าง (Structure) ระบบการให้รางวัล (Reward System) 
ค. สัมพันธภาพในองค์การ (Relationship) กลไกสนับสนุนอื่นๆ (Helpful Mechanisms)
ง. ถูกทุกข้อ


144. ธรรมชาติของคนต่อต้านการเปลี่ยนแปลง การริเริ่มการเปลี่ยนแปลงโดยการโน้มน้าวหรือล่อใจ (induce) ให้คนปรับเปลี่ยนทัศนคติเพื่อละลายแรงต่อต้าน (unfreezing) โดยอาศัยทฤษฎีริเริ่มการเปลี่ยนแปลงใน 3 รูปแบบ ยกเว้นข้อใด
ก. ทฤษฎีสนทนาโน้มน้าว (the persuasive-discussion theory)
ข. ทฤษฎีไฟกำลังไหม้บ้าน (the burning platform theory)
ค. ทฤษฎีกดดันจากผู้นำ (the leader-pressure theory)
ง. ทฤษฎีความไม่พอใจระดับปฏิบัติการ (the front-line discontent theory)
145.  การสร้างแนวร่วมการเปลี่ยนแปลง (Change Coalition) Kotter  เรียกทีมดังกล่าวว่าเป็นแนวร่วมชี้นำ (guiding coalition) ที่ควรประกอบด้วยสมาชิก 4 ลักษณะ ลักษณะใดที่ขับเคลื่อนกระบวนการเปลี่ยนแปลง
          ก. ตำแหน่งมีอำนาจ (position power)             ข. ผู้เชี่ยวชาญ (expertise)
          ค. ผู้มีความน่าเชื่อถือ (credibility)                  ง. ภาวะผู้นำ (leadership)
146 . จากข้อ 145 ลักษณะใดทำหน้าที่เป็นตัวหลัก (key players) ในทีม
          ก. ตำแหน่งมีอำนาจ (position power)          ข. ผู้เชี่ยวชาญ (expertise)
          ค. ผู้มีความน่าเชื่อถือ (credibility)                  ง. ภาวะผู้นำ (leadership)
147. แนวทางการการบริหารการเปลี่ยนแปลงเพื่อให้บรรลุผลประกอบด้วย 3 ขั้นตอนหลัก คือข้อใด
ก. การเตรียมการ                                     ข.  การดำเนินงานบริหารการเปลี่ยนแปลง
ค. การสนับสนุนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างยั่งยืน          ง. ถูกทุกข้อ
148. ขั้นตอนการบริหารการเปลี่ยนแปลงองค์กรที่มุ่งกระตุ้นให้บุคลากรในองค์กรเกิดความรู้สึกสนับสนุนภารกิจการปรับเปลี่ยนองค์กร และอยากมีส่วนร่วมในการเปลี่ยนแปลงองค์กรไปสู่สภาวะที่พึงประสงค์ อยู่ในชั้นตอนใด APEC
ก. รับรู้” (Awareness)                     ข. ศรัทธา” (Passion)
ค. ศึกษาวิธี (Education)”                 ง. มีความสามารถ” (Competence)
144. ขั้นตอนการบริหารการเปลี่ยนแปลงองค์กรที่มุ่งสร้างความตระหนักรู้ในกลุ่มเป้าหมายและผู้เกี่ยวข้องถึงความจำเป็นในการเปลี่ยนแปลง อีกทั้งสร้างความเข้าใจในความเสี่ยงหรือผลเสียทั้งในระดับองค์กรและบุคคลหากไม่ดำเนินภารกิจการปรับเปลี่ยนองค์กร อยู่ในชั้นตอนใด APEC
ก. รับรู้” (Awareness)                      ข. ศรัทธา” (Passion)
ค. ศึกษาวิธี (Education)”                 ง. มีความสามารถ” (Competence)
145. ขั้นตอนการบริหารการเปลี่ยนแปลงองค์กรที่มุ่งสร้างความเชื่อมั่นในการปฏิบัติจริงอันเกิดจากการที่บุคลากรได้นำความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่จะดำเนินการเปลี่ยนแปลงไปประยุกต์ใช้จนเกิดทักษะและความมั่นใจว่าตนจะสามารถดำเนินการจนประสบความสำเร็จได้ด้วยวิธีการแบบใหม่ อยู่ในชั้นตอนใด APEC
ก. รับรู้” (Awareness)                     ข. ศรัทธา” (Passion)
ค. ศึกษาวิธี (Education)”                 ง. มีความสามารถ” (Competence)

146. SMART หมายถึง การกำหนดเกณฑ์การวัดผลลัพธ์ผลสัมฤทธิ์ของภารกิจต่างๆโดยใช้หลักดังต่อไปนี้เพื่อให้สามารถวัดผลงานได้อย่างเป็นรูปธรรม อักษร A ย่อมาจากอะไร
          ก. Activities                                 ข. Achievable
          ค. action                                     ง. Awareness
147. กรอบแนวคิดในการบริหารการเปลี่ยนแปลงองค์กรของ John Kotter ที่เน้นบทบาทของผู้นำว่าเป็น
ผู้ขับเคลื่อนหลักในการเปลี่ยนแปลง มีกี่ขั้นตอน
          ก. 5                                           ข. 6             
ค. 7                                                  ง. 8
148. ขั้นตอนแรกตามข้อ 147 คือข้อใด
ก. เพิ่มระดับความจำเป็นเร่งด่วน (Increase urgency)
ข.สร้างทีมผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Build the guiding teams)
ค. มุ่งมั่นไม่ย่อท้อ (Don’t let up)
ง. รักษาผลการเปลี่ยนแปลงไว้ให้คงอยู่ (Make it stick)
149. ขั้นตอนสุดท้ายตามข้อ 147 คือข้อใด
ก. เพิ่มระดับความจำเป็นเร่งด่วน (Increase urgency)   
ข.สร้างทีมผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Build the guiding teams)
ค. มุ่งมั่นไม่ย่อท้อ (Don’t let up)
ง. รักษาผลการเปลี่ยนแปลงไว้ให้คงอยู่ (Make it stick)
150. องค์การที่เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ตามแนวคิดของ Peter Senge มีกี่ลักษณะ
          ก. 5                                            ข. 6             
ค. 7                                           ง. 8
151. ข้อใดไม่ใช่กระบวนการเปลี่ยนแปลงตามแนวคิดของ David Cooperider ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน (4D)
ก.      Discovery                                    ข. Definition  
ค. Design                                    ง. Destiny
152.  ตัวแบบการเปลี่ยนแปลง (change models) ตามความคิดของ Kurt Lewin ตั้งอยู่บนฐานของ 3 ขั้น
ยกเว้นข้อใด
ก. ขั้นการละลาย (unfreezing) รูปแบบและวิธีการปัจจุบันที่องค์การยึดถือเป็นแนวปฏิบัติ
ข. ขั้นกาลังเปลี่ยนแปลง (changing) ที่องค์การเปลี่ยนแปลงไปสู่ทิศทางที่ต้องการ
ค. ขั้นการหล่อหลอมใหม่ (refreezing) ที่การเปลี่ยนแปลงทั้งหลายและพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องถูกหล่อหลอมให้เป็นองค์การรูปแบบใหม่ ตรรกะ (logic)
ง. ถูกทุกข้อ


153. ข้อใดไม่ใช่เป้าหมายหลักในการพัฒนาระบบราชการตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบ
    ราชการไทย พ.ศ. 2556- 2561
           ก. การสร้างความเชื่อถือไว้วางใจ                 
           ข. การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่
           . การพัฒนาสุขภาวะ                              
          ง. การมุ่งสู่ความยั่งยืน
154. ข้อใดไม่ใช่ประเด็นยุทธศาสตร์การยกระดับองค์การสู่ความเป็นเลิศตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
     ระบบราชการไทย พ.ศ. 2556- 2561
        . การยกระดับความโปร่งใสและสร้างความเชื่อมั่นศรัทธาในการบริหารราชการแผ่นดิน
          ข. การสร้างความเป็นเลิศในการให้บริการประชาชน
        ค. การพัฒนาองค์การให้มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย บุคลากรมีความเป็นมืออาชีพ
        ง. การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารสินทรัพย์ของภาครัฐให้เกิดประโยชน์สูงสุด
155. ผลการติดตามการปฏิบัติตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.. 2546 พบว่ายังคงมีปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติตามระบบราชการคือข้อใด
ก. การให้บริการ รับข้อร้องเรียน และแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน
ข. การบูรณาการการทำงานของหน่วยงานราชการ
ค. การป้องกันและแก้ไขปัญหาการทุจริตประพฤติมิชอบในวงราชการ
ง. ถูกทุกข้อ
156. หน่วยงานใดให้ความเห็นชอบแผนการส่งเสริมและ พัฒนาธรรมาภิบาลในภาคราชการ
เพื่อการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีอย่างยั่งยืน
ก.      คณะรัฐมนตรี                          ข. รัฐมนตรีประจำสำนักนายรัฐมนตรี
ข.      ก.พ.ร.                                    ง. สำนักปลัดนายกรัฐมนตรี
157. แผนการส่งเสริมและ พัฒนาธรรมาภิบาลในภาคราชการเพื่อการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีอย่างยั่งยืน มีองค์ประกอบครอบคลุม 3 ส่วน ยกเว้นข้อใด
ก. การส่งเสริมและพัฒนาธรรมาภิบาลในภาคราชการผ่านการเรียนรู้ จากการปฏิบัติจริง
ข. การพัฒนากลไกการขับเคลื่อนธรรมาภิบาลในระบบราชการแบบยั่งยืน
ค. การพัฒนา ระบบสนับสนุนการพัฒนาธรรมาภิบาล
ง. การปฏิรูประบบกฎหมายเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขัน
158. ระบบราชการไทยจะต้องให้คุณค่า ความสำคัญและยึดมั่นในปรัชญา หลักการและแนวทางต่างๆดังนี้ ยกเว้นข้อใด
ก. ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง               ข. บูรณาการการทำงานของภาครัฐและในระดับต่าง ๆ
ค. พัฒนาและสรรหาผู้ที่มีความสามารถสูงเข้ามารับราชการ  ง. ถูกทุกข้อ

159. ข้อใดไม่อยู่ในวิสัยทัศน์ใหม่ของการพัฒนาระบบราชการ (.. 2556 – .. 2561)
ก. พัฒนาการทำงานเพื่อประชาชน และรักษาผลประโยชน์ของประเทศชาติ
ข. สร้างความพร้อมและขับเคลื่อนระบบราชการไทยเข้าสู่ประชาคมอาเซียน และเวทีโลก
ค. ยกระดับขีดสมรรถนะไปสู่ความเป็นเลิศและบูรณาการและเพิ่มประสิทธิภาพงานของภาครัฐ
ง. สร้างความโปร่งใส ต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ ให้เป็นที่น่าเชื่อมั่นศรัทธาของประชาชน
160. ข้อใดไม่ใช่ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการในช่วงระยะปี พ.. 2556 – .. 2561
ก. ยกระดับองค์การสู่ความเป็นเลิศ                           ข. พัฒนาอย่างยั่งยืน
ค. ก้าวสู่สากล                                                   ง. สร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ
161. ข้อใดไม่ใช่การสร้างความเป็นเลิศในการให้บริการประชาชน โดยกลยุทธ์พัฒนาระบบการให้บริการประชาชน
ก. No Wrong Door                                  ข. u-Learning
ค. One Stop Service                               ง. e-Service
162. ข้อใดไม่ใช่กลยุทธ์การพัฒนาองค์การให้มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย บุคลากรมีความเป็นมืออาชีพ
ก. เสริมสร้างวัฒนธรรมการให้บริการที่เป็นเลิศ
ข. พัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนและพัฒนาบุคลากรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบราชการ
ค. เพิ่มผลิตภาพในการปฏิบัติราชการ โดยการลดต้นทุน และส่งเสริมนวัตกรรม
          ง. สร้างความรับผิดชอบต่อสังคมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน
163. การเป็นรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government) อยู่ในกลยุทธ์ใดของการพัฒนาองค์การให้มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย
ก. พัฒนาหน่วยงานของรัฐให้มีขีดสมรรถนะสูง
ข. พัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนและพัฒนาบุคลากรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบราชการ
ค. เพิ่มผลิตภาพในการปฏิบัติราชการ โดยการลดต้นทุน และส่งเสริมนวัตกรรม
          ง. สร้างความรับผิดชอบต่อสังคมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน
164. ข้อใดไม่ใช่การพัฒนาองค์การให้มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย ในกลยุทธ์พัฒนาหน่วยงานของรัฐให้มีขีดสมรรถนะสูง
                ก. Government Cloud Service : G – Cloud    ข. Crisis Management Center
ค. m - Government (Mobile G2C Service)     ง. u-Learning
165. ข้อใดเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารสินทรัพย์ของภาครัฐให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ก. วางระบบการบริหารสินทรัพย์อย่างครบวงจร
ข. ทบทวนกฎหมายระเบียบที่เกี่ยวข้องเพื่อให้สามารถบริหารสินทรัพย์อย่างครบวงจร
ค. ส่งเสริมให้มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารสินทรัพย์
ง. ถูกทุกข้อ

166.  PPP : Public-Private- Partnership เกี่ยวข้องกับเรื่องใด
ก. การพัฒนาองค์การให้มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย
ข. การส่งเสริมระบบการบริหารกิจการบ้านเมืองแบบร่วมมือกันระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาชน
ค. การวางระบบการบริหารงานราชการแบบบูรณาการ
ง. การยกระดับความโปร่งใสและสร้างความเชื่อมั่นศรัทธาในการบริหารราชการแผ่นดิน
167. ข้อใดไม่ใช่ส่งเสริมและวางกลไกสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ
ก. ผลักดันให้หน่วยงานของรัฐมีการปฏิบัติตามกฎหมายข้อมูลข่าวสารของราชการอย่างจริงจัง
ข. กำหนดมาตรการ กลไก และสนับสนุนช่องทางในการให้ส่วนราชการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
ค. ปลุกจิตสำนึกและสร้างความตระหนักรู้ โดยสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่ข้าราชการ
ง. ส่งเสริม สนับสนุนส่วนราชการพัฒนาคู่มือ ขั้นตอน กระบวนการทำงาน และกำหนด หลักเกณฑ์
168. ASEAN Readiness Center : ARC คืออะไร
ก. ศูนย์ชิงยุทธศาสตร์เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ข. ศูนย์ขับเคลื่อนความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
ค. เตรียมความพร้อมข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐ เพื่อรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ง. ศูนย์พัฒนาระบบราชการไทยเพื่อเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน
169. ข้อใดเป็นปัจจัยเงื่อนไขแห่งความสำเร็จในการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยไปสู่การปฏิบัติ
ก. เสริมสร้างภาวะผู้นำการบริหารการเปลี่ยนแปลง
ข. เน้นกระบวนการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง
ค. ปรับปรุงกฎ ระเบียบ และกฎหมายต่าง ๆ ให้เอื้อต่อการเปลี่ยนแปลง
ง.  ถูกทุกข้อ
170. โครงการสำคัญ (Flagship Projects) ที่จะต้องดำเนินการเร่งด่วน จำนวนกี่โครงการ
          ก. 8                                           ข. 10            
ค. 12                                         ง. 15
171. Single Window Service อยู่ในโครงการสำคัญ (Flagship Projects) ใด
ก. โครงการส่งเสริมให้หน่วยงานของรัฐบริหารสินทรัพย์อย่างมีประสิทธิภาพ
ข. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการประชาชนด้วยระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ
ค. โครงการส่งเสริมและพัฒนาความเป็นเลิศในการให้บริการประชาชน
ง. โครงการพัฒนาระบบการจัดการข้อร้องเรียนและแก้ไขปัญหาความเดือนร้อนของประชาชน



172. ข้อใดไม่ใช่เป้าหมายของการจัดการความรู้
ก. เพื่อพัฒนางาน ให้มีคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ยิ่งขึ้น
ข. เพื่อการพัฒนาคน คือ พัฒนาผู้ปฏิบัติงาน
ค. เพื่อการพัฒนาฐานความรู้ขององค์กรหรือหน่วยงาน
            ง. เพื่อพัฒนาความรู้ความเชี่ยวชาญให้เพียงพอแก่การปฏิบัติงาน
 173. การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management) ให้ความสำคัญ 3 ด้าน ยกเว้นข้อใด
          ก. การประหยัด (economy)                         ข. ประสิทธิภาพ (efficiency)
ค. ประสิทธิผล (effectiveness)                     ง. ความรู้ (Knowledge)
174. การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management)  สอดคล้องกับแนวคิดของใคร
ก.รัฐประศาสนศาสตร์แบบคลาสสิกของ Woodrow Wilson ที่เน้นแยกการเมืองออกจาก
การบริหารงาน
ข. หลักวิทยาศาสตร์การจัดการ (Scientific management) ของ Frederick Taylor
David Osborne & Ted Gaebler
ค.ให้ระบบราชการมีลักษณะของการแข่งขันการให้บริการสาธารณะ (a competitive government)
การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ ( New Public Management)
ค.     ถูกทั้ง ก และ ข
175. ข้อใดไม่ใช่แนวทางในการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่( New Public Management)
            ก. การยึดกฏระเบียบมากว่ายึดเป้าหมาย
ข. การให้บริการที่มีคุณภาพแก่ประชาชน
ค. คำนึงถึงความต้องการของประชาชนเป็นหลัก
ง. รัฐพึงทำบทบาทเฉพาะที่รัฐทำได้ดีเท่านั้น
176. วัตถุประสงค์หลักของ NPM คือ อะไร
ก. ต้องการให้บริการที่มีคุณภาพแก่ประชาชน
ข. คำนึงถึงความต้องการของประชาชนเป็นหลัก
ค. ต้องการปรับปรุงประสิทธิภาพของภาคราชการ
ง. รัฐพึงทำบทบาทเฉพาะที่รัฐทำได้ดีเท่านั้น
177. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของหลักธรรมาภิบาลตามการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)
          ก. หลักความโปร่งใส                        ข. หลักความสานึกรับผิดชอบ
ค. หลักการมีส่วนร่วม                       ง. หลักการกระจายอำนาจ 
178. หลักการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (SBM) และหลักธรรมาภิบาล หลักการใดที่มีตรงกัน
          ก. หลักความโปร่งใส                        ข. หลักความสานึกรับผิดชอบ
ค. หลักการมีส่วนร่วม                     ง. หลักการกระจายอำนาจ 
179. การนำข้อมูลการประเมินสภาพแวดล้อมที่เป็นจุดแข็งและข้อจำกัดมาพิจารณาร่วมกัน เพื่อที่จะนำมากำหนดเป็นกลยุทธ์หรือยุทธ์ศาสตร์แบบใด
            ก. กลยุทธ์หรือยุทธ์ศาสตร์ในเชิงรุก                     ข. กลยุทธ์หรือยุทธ์ศาสตร์ในเชิงป้องกัน
          ค. กลยุทธ์หรือยุทธ์ศาสตร์ในเชิงการแก้ไข         ง. กลยุทธ์หรือยุทธ์ศาสตร์ในเชิงรับ
180. PMQA  : Public Sector Management Quality Award หมายถึงอะไร
ก. รางวัลคุณภาพแห่งชาติของประเทศไทย                  ข.  การจัดการภาครัฐแนวใหม่
ค. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ       ง. การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
181. การแปลงวิสัยทัศน์และกลยุทธ์ขององค์การให้ออกมาเป็นตัวชี้วัดต่าง ๆ และผลักดันตัวชี้วัดเหล่านั้นให้ตอบสนองต่อเป้าหมายที่เป็นคุณค่าความสำเร็จของการบริหารองค์กรเชิงกลยุทธ์ใน 4 ด้าน สอดคล้องกับข้อใด
ก. Balanced Scorecard                  ข. Key Performance Indicators
ค. Benchmarking                          ง. Quality Control
182. จากข้อ 181 เชิงกลยุทธ์ใน 4 ด้าน ยกเว้นข้อใด
          ก. คุณค่าด้านการเงิน (Finance)     ข. คุณค่าด้านลูกค้า (Customer)
ค. คุณค่าด้านบริการ (Service)   ง. คุณด่าด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม (Learning & Growth)
183. กระบวนการแลกเปลี่ยนความรู้ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และแลกเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) กับองค์กรอื่นภายใต้กฎกติกาสากล สอดคล้องกับข้อใด
ก. Balanced Scorecard                   ข. Key Performance Indicators
ค. Benchmarking                         ง. Quality Control
184.ข้อใดไม่ใช่วิธีการเปรียบเทียบหรือแลกเปลี่ยนตามแนวคิด Benchmarking
ก. เปรียบเทียบทางด้านผลดำเนินการ (Performance Benchmarking)
ข. เปรียบเทียบวิธีการปฏิบัติการสำหรับกระบวนการ (Process Benchmarking)
ค. เปรียบเทียบด้านการเลือกและควบคุมการใช้กลยุทธ์ (Strategic Benchmarking)
ง. เปรียบเทียบทางด้านผลผลิตและผลลัพธ์ (Output and Outcome Benchmarking)
185. แนวคิด Benchmarking จะต้องการเปรียบเทียบกับใคร
ก.ตั้งเป้าหมายภายใน Internal Benchmarking
ข. เปรียบเทียบโดยตรงกับคู่แข่ง Competitive Benchmarking
ค. เปรียบเทียบกับองค์กรอื่นที่มีธุรกิจคล้ายคลึงกัน Functional Benchmarking
ง. ถูกทุกข้อ
186. ขั้นตอนการทำ Benchmarking  ใช้โมเดลการวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบอย่างเป็นระบบตามข้อใด
          ก.  PDCA                                    ข. PDSA
          ค.  PAIA                                     ง. PAOR


187.แนวคิดการควบคุมคุณภาพของ W. Edward Deming ด้วยวงจรเดมมิ่ง (Deming Circle : PDCA)
“การเปรียบเทียบผลการดาเนินงานกับเป้าหมายที่กำหนดไว้ โดยนาข้อมูลก่อนการดาเนินงานและหลังการดาเนินงานมาเปรียบเทียบกัน “ อยู่ในขั้นตอนใดของวงจร
ก.      P             ข. D              ค. C              ง.  A
188. การนำวิธีการแก้ไขปัญหาที่ได้ผลหรือประสบสำเร็จมากำหนดเป็นมาตรฐานเพื่อถือปฏิบัติต่อไป
แต่ถ้าไม่ได้ผลก็นำไปพิจารณาวางแผนปรับปรุงให้เหมาะสมยิ่งขึ้น  อยู่ในขั้นตอนใดของวงจร
ก.     P             ข. D              ค. C              ง.  A
189. ผลลัพธ์ส่วนมากจะเขียนในลักษณะที่กว้างไปสู่แคบหรือเฉพาะเจาะจงโดยเรียงลำดับได้ตามข้อใด
ก. จากเป้าประสงค์ (Goal) ไปวัตถุประสงค์ (Objective) และเป้าหมาย (Target)
ข. จากวัตถุประสงค์ (Objective) ไปเป้าหมาย (Target) และเป้าประสงค์ (Goal)
ค. จากเป้าหมาย (Target) ไปเป้าประสงค์ (Goal) และวัตถุประสงค์ (Objective)
ง. จากวัตถุประสงค์ (Objective)  ไปเป้าประสงค์ (Goal) และเป้าหมาย (Target)
190. ข้อใดไม่ใช่โครงสร้างองค์การสมัยใหม่ (Modern Organization Structure)
ก. องค์การแนวราบ (Horizontal Organization)
ข. องค์การแบบ Modular (Modular Organization)
ค. องค์การเสมือน (Virtual Organization)
ง.โครงสร้างองค์การแบบเมทริกซ์ (Matrix Structure)
191. เป็นระบบความสัมพันธ์ของผู้ขายวัตถุดิบ ลูกค้า และแม้แต่คู่แข่งขันต่างก็เป็นอิสระแก่กัน ตามารวมตัวกันด้วยผลประโยชน์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเชื่อมส่วนประกอบของระบบเข้าด้วยกันแบบพึ่งพาอาศัยกัน (Interdependence) เป็นโครงสร้างองค์กรแบบใด
ก. องค์การแนวราบ (Horizontal Organization)
ข. องค์การแบบ Modular (Modular Organization)
ค. องค์การเสมือน (Virtual Organization)
ง.โครงสร้างองค์การแบบเมทริกซ์ (Matrix Structure)
192. โดยให้องค์การหลักเป็นแกนกลางจะทำงานที่ตนมีความชำนาญ ซึ่งจะใช้จำนวนบุคคลไม่มากนักในการพัฒนากลยุทธ์และศักยภาพในการแข่งขัน โดยจ้างงานให้กับองค์การอื่นเป็นผู้รับเหมาช่วงงาน (Subcontractor) และมีผู้รับผิดชอบในการติดต่อกับผู้เช่าช่วงทั้งหลายให้ทำงานอย่างสอดคล้องกับแกนกลางภารกิจหลักเป็นโครงสร้างองค์กรแบบใด
ก. องค์การแนวราบ (Horizontal Organization)
ข. องค์การแบบ Modular (Modular Organization)
ค. องค์การเสมือน (Virtual Organization)
ง.โครงสร้างองค์การแบบเมทริกซ์ (Matrix Structure)

193. เป็นโครงสร้างองค์การที่พยายามลดลำดับสายการให้สั้นลง และมีการให้อำนาจแก่พนักงาน (Empowerment) ในการตัดสินใจและแก้ไขปัญหาเพื่อให้เกิดความคล่องตัว ทำให้มีประสิทธิภาพมากกว่า
ก. องค์การแนวราบ (Horizontal Organization)
ข. องค์การแบบ Modular (Modular Organization)
ค. องค์การเสมือน (Virtual Organization)
ง.โครงสร้างองค์การแบบเมทริกซ์ (Matrix Structure)
194. หลักธรรมอันเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวหรือให้เกิดความสามัคคีในหมู่คณะคือหลักธรรมข้อใด
          ก. อิทธิบาท 4                                ข. สังคหวัตถุ 4          
          ค. ฆราวาสธรรม 4                          ง.  พรหมวิหาร 4
195. คุณธรรมใดที่ทำให้ท่านสอบเป็นผู้บริหารสถานศึกษาได้
          ก. อิทธิบาท 4                                ข. สังคหวัตถุ 4          
          ค. ฆราวาสธรรม 4                          ง.  พรหมวิหาร 4
196. เมื่อท่านเป็นผู้บริหารสถานศึกษา ควรให้หลักธรรมข้อใดปกครองผู้ใต้บังคับบัญชา
          ก. อิทธิบาท 4                                ข. สังคหวัตถุ 4          
          ค. ฆราวาสธรรม 4                          ง.  พรหมวิหาร 4
197. คุณธรรมข้อใดตามคุณธรรมของผู้ปกครอง หรือธรรมของพระราชา 10 ประการ ที่ทำให้ท่านไม่หลงระเริงอำนาจ ไม่บีบคั้น กดขี่ผู้ใต้บังคับบัญชา
            ก. อวิหิงสา     ข. อวิโรธนะ     ค. อาชชวะ      ง. อักโกธะ
198. คุณธรรมข้อใดตามคุณธรรมของผู้ปกครอง หรือธรรมของพระราชา 10 ประการ ที่ป้องกันไม่ให้ท่านกระทำผิด อันจะนำประโยชน์สุข ความดีงาม สู่ราษฎร์และรัฐ
            ก. อวิหิงสา      ข. อวิโรธนะ    ค. อาชชวะ      ง. อักโกธะ
199. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตรงกับหลักธรรมข้อใด
ก. อิทธิบาท 4                                ข. สังคหวัตถุ 4          
          ค. ฆราวาสธรรม 4                          ง.  สัปปุริสธรรม
200. หลักธรรมสำหรับการครองตนที่สำคัญคือข้อใด
          ก. ศีล            ข. สมาธิ         ค. ปัญญา       ง. ถูกทุกข้อ

..............................................................................................................................................................

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น