คู่มือเตรียมสอบ เศรษฐกิจพอเพียง
1. การสร้างความสมดุลของแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเน้นให้เกิดกับสิ่งใดมากที่สุด
ก. ความสมดุลระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
ข. ความสมดุลระหว่างสินค้าต่างประเทศกับสินค้าไทย
ค. ความสมดุลระหว่างอุตสาหกรรมกับเกษตรกรรม
ง. ความสมดุลของความเจริญทางเทคโนโลยีกับ ภูมิปัญญาไทย
ตอบ ง. ความสมดุลของความเจริญทางเทคโนโลยีกับ ภูมิปัญญาไทย
2. จุดกำเนิดของแนวคิดทฤษฎีใหม่ของหลักการเศรษฐกิจพอเพียงเกิดขึ้นในพื้นที่จังหวัดใด
ก. จังหวัดสระบุรี ข. จังหวัดเชียงใหม่
ค. จังหวัดกาฬสินธ์ ง. จังหวัดฉะเชิงเทรา
ตอบ ก. จังหวัดสระบุรี
3. สาเหตุใดจึงต้องมีการประกาศใช้เศรษฐกิจพอเพียง
ก. สินค้าเกษตรมีราคาสูง ข. เศรษฐกิจมีการขยายตัวสูงขึ้น
ค. ปริมาณสินค้าในการบริโภคมากเกินไป ง. เกิดภาวะขาดแคลนสินค้าอุปโภคบริโภค
ตอบ ก. สินค้าเกษตรมีราคาสูง
4. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับแรกในปีพ.ศ. 2504 เป็นต้นมาไทยมีการเน้นหนักในการ พัฒนาในด้านใด
ก. การทหาร ข. การเกษตร
ค. อุตสาหกรรม ง. ด้านการบริการ
ตอบ ข. การเกษตร
5. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติของไทยเน้นการพัฒนาในด้านใดเป็นสำคัญ
ก. เน้นการส่งออก ข. เน้นการออม
ค. โครงสร้างพื้นฐาน ง. เน้นการกระจายรายได้
ตอบ ข. เน้นการออม
6. ความอ่อนแอของเศรษฐกิจไทยมีสาเหตุมาจาก ปัจจัยในด้านใดมากที่สุด
ก. ความอ่อนแอทางวัฒนธรรม ข. การพึ่งพิงการส่งออกมากเกินไป
ค. การกีดกันทางการค้าระหว่างประเทศ ง. ความนิยมสินค้าจากต่างประเทศ
ตอบ ง. ความนิยมสินค้าจากต่างประเทศ
7. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่หลักการพึ่งพอตนเองตาม แนวทางของเศรษฐกิจพอเพียง
ก. การพึ่งตนเองทางด้านสังคม ข. การพึ่งตนเองทางด้านจิตใจ
ค. การพึ่งตนเองทางด้านเศรษฐกิจ ง. การพึ่งตนเองทางด้านการเมืองการปกครอง
ตอบ ง. การพึ่งตนเองทางด้านการเมืองการปกครอง
8. แนวทางเศรษฐกิจพอเพียงส่งเสริมให้ประชาชน ดำเนินชีวิตในลักษณะใด
ก. ดำเนินชีวิตในลักษณะใด ข. ดำเนินชีวิตอย่างเคร่งครัด
ค. ดำเนินชีวิตทางสายกลางยึดความพอดี ง. ดำเนินชีวิตเพื่อสร้างความสะดวกสบายตนเอง
ตอบ ค. ดำเนินชีวิตทางสายกลางยึดความพอดี
9. หลักการใดไม่ใช่เศรษฐกิจพอเพียง
ก. การพึ่งตนเองเป็นสำคัญ ข. การสร้างนิสัยนิยมไทย
ค. การบริการดินและน้ำอย่างเหมาะสม ง. การลงทุนขนาดใหญ่เพื่อการผลิตสินค้า
ตอบ ง. การลงทุนขนาดใหญ่เพื่อการผลิตสินค้า
10. ความพอเพียงทางเทคโนโลยีตามหลักการเศรษฐกิจพอเพียงมีความหมายว่าอย่างไร
ก. การใช้เทคโนโลยีแบบผสมผสาน ข. การไม่ใช้เทคโนโลยีในการผลิต
ค. การใช้เทคโนโลยีขั้นสูงเพื่อการผลิต ง. การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการผลิต
ตอบ ก. การใช้เทคโนโลยีแบบผสมผสาน
11. ความพอเพียงด้านสังคมตามหลักการเศรษฐกิจพอเพียงหมายถึงสิ่งใด
ก. สังคมเข้มแข็ง ข. สังคมมีหลากหลาย
ค. คนในสังคมมีความเป็นอยู่ที่ดี ง. คนในสังคมไม่ต้องการความช่วยเหลือจากใคร
ตอบ ค. คนในสังคมมีความเป็นอยู่ที่ดี
12. การสร้างความพอเพียงด้านจิตใจของประชาชนหน่วยทางสังคมใดที่มีบทบาทสำคัญที่สุดในการสร้างความพอเพียง
ก. ศาสนา ข. การปกครอง
ค. ทางการศึกษา ง. สถาบันครอบครัว
ตอบ ก. ศาสนา
13. คุณธรรมด้านใดที่มีความสำคัญกับหลักเศรษฐกิจ พอเพียงมากที่สุด
ก. เป็นคนมีศีลธรรม ข. มีความละอายต่อบาป
ค. เป็นผู้มีความโอบอ้อมอารี ง. มีความซื่อสัตย์ ขยันหมั่นเพียร
ตอบ ง. มีความซื่อสัตย์ ขยันหมั่นเพียร
14. แนวทฤษฎีใหม่ให้ความสำคัญกับการจัดการทรัพยากรใดมากที่สุด
ก. มนุษย์ ข. ทรัพยากรน้ำ
ค. ทรัพยากรดิน ง. ทรัพยากรป่าไม้
ตอบ ค. ทรัพยากรดิน
15. ทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดำริขององค์ ดำเนินชีวิตแบบใด
ก. ดำเนินชีวิตที่พอเพียง ข. ตามยถากรรม
ค. ดำเนินชีวิตตามปกติ ง. ดำเนินชีวิตอย่างฟุ่มเฟือย
ตอบ ก. ดำเนินชีวิตที่พอเพียง
16. การทดลองเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่ครั้งแรกที่จังหวัดใด
ก. จังหวัดกาฬสินธุ์ ข. จังหวัดฉะเชิงเซา
ค. จังหวัดสระบุรี ง. จังหวัดสุราษฎ์ธานี
ตอบ ค. จังหวัดสระบุรี
17. เนื้อที่ในการทำการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่จะต้องมีเนื้อที่ประมาณกี่ไร่
ก. ประมาณ 5 ไร่ ข. ประมาณ 10 ไร่
ค. ประมาณ 20 ไร่ ง. ประมาณ 30 ไร่
ตอบ ข. ประมาณ 10 ไร่
18. ทฤษฎีใหม่และการดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจ พอเพียงมุ่งแก้ไขปัญหาในด้านใดในสังคมเป็นสำคัญ
ก. ความยากจน ข. ปัญหาการก่อการร้าย
ค. ปัญหาความขัดแย้งทางสังคม ง. ปัญหาความแตกแยกของประชาชน
ตอบ ก. ความยากจน
19. หลักการของทฤษฎีใหม่มีทั้งหมดจำนวนกี่ขั้น
ก. 2 ขั้น ข. 3 ขั้น
ค. 4 ขั้น ง. 5 ขั้น
ตอบ ข. 3 ขั้น
20. พื้นที่ส่วนที่ 2 ในทฤษฎีเน้นให้ประชาชนปลูกข้าวเพื่อวัตถุประสงค์ใด
ก. ไว้จำหน่ายในท้องถิ่น ข. แลกเปลี่ยนกับสินค้าชนิดอื่น
ค. เพื่อใช้บริโภคภายในครอบครัว ง. เพื่อส่งไปยังต่างประเทศเพื่อจำหน่าย
ตอบ ค. เพื่อใช้บริโภคภายในครอบครัว
21. ทฤษฎีใหม่ในขั้นที่ 2 เป็นการสร้างความเข้มแข็ง ให้แก่ระดับใด
ก. ระดับบุคคล ข. ระดับครอบครัว
ค. ระดับสังคมหรือชุมชน ง. สร้างความเข้มแข็งให้กับญาติพี่น้อง
ตอบ ค. ระดับสังคมหรือชุมชน
22. การประยุกต์ใช้ทฤษฎีใหม่สำหรับเศรษฐกิจพอเพียงใช้ได้ผลการสภาพพื้นที่ภาคใดมากที่สุด
ก. ภาคเหนือ ข. ภาคกลาง
ค. ภาคอีสาน ง. ภาคใต้
ตอบ ข. ภาคกลาง
23. ทฤษฎีใหม่กับหลักเศรษฐกิจพอเพียงต้องการพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชนในระดับใดมากที่สุด
ก. ประชาชนที่มีฐานะยากจน ข. ประชาชนที่มีฐานะค่อนข้างร่ำรวย
ค. ประชาชนที่มีฐานะค่อนข้างยากจน ง. ประชาชนที่มีฐานะระดับปานกลาง
ตอบ ง. ประชาชนที่มีฐานะระดับปานกลาง
24. การสร้างความพอเพียงในการดำเนินชีวิตตามทฤษฎีใหม่ใครมีบทบาทมากที่สุด
ก. ผู้นำทางศาสนา ข. สถาบันการศึกษา
ค. ทุกคนในท้องถิ่น ง. ผู้นำท้องถิ่น
ตอบ ง. ผู้นำท้องถิ่น
25. เศรษฐกิจแบบฟองสบู่เริ่มปรากฏในประเทศไทยเมื่อใด
ก. ปี พ.ศ. 2537 ข. ปี พ.ศ. 2538
ค. ปี พ.ศ. 2539 ง. ปี พ.ศ. 2540
ตอบ ง. ปี พ.ศ. 2540
26. ปัญหาเศรษฐกิจแบบฟองสบู่ของไทยมีสาเหตุมาจากปัจจัยใดมากที่สุด
ก. การขยายตัวทางด้านเกษตรกรรม
ข. การขยายตัวทางด้านอุตสาหกรรม
ค. การขยายตัวของการลงทุนจากนักลงทุนต่างชาติ
ง. การขยายตัวทางด้านการลงทุนด้าน อสังหาริมทรัพย์
ตอบ ง. การขยายตัวทางด้านการลงทุนด้าน อสังหาริมทรัพย์
27. เศรษฐกิจแบบฟองสบู่เกิดขึ้นในสมัยรัฐบาลชุดใด
ก. พลเอกสุจินดา คราประยูร ข. รัฐบาลชุด นายชวน หลีกภัย
ค. รัฐบาลชุด นายบรรหาร ศิลปอาชา ง. รัฐบาลชุด นายธานินทร์ กรัยวิเชียร
ตอบ ข. รัฐบาลชุด นายชวน หลีกภัย
28. การประกาศลอยตัวค่าเงินบาทเป็นนโยบายของรัฐบาลชุดใด
ก. นายสมชาย วงค์สวัสดิ์ ข. พันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร
ค. พลเอกเชาวลิต ยงใจยุทธ ง. นายชวน หลีกภัย
ตอบ ค. พลเอกเชาวลิต ยงใจยุทธ
29. ก่อนเกิดวิกฤติเศรษฐกิจไทยรัฐบาลได้นำค่าเงินบาทไปผูกยึดติดกับค่าเงินของประเทศใด
ก. อังกฤษ ข. ฝรั่งเศส
ค. สหรัฐอเมริกา ง. แคนนาดา
ตอบ ค. สหรัฐอเมริกา
30. การแก้ปัญหาวิกฤติของไทยตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงส่งเสริมให้ประชาชนหันมาประกอบอาชีพใด
ก. รับจ้าง ข. การทำการเกษตร
ค. การทำธุรกิจส่วนตัว ง. ลูกจ้างบริษัทเอกชน
ตอบ ข. การทำการเกษตร
ก. ความสมดุลระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
ข. ความสมดุลระหว่างสินค้าต่างประเทศกับสินค้าไทย
ค. ความสมดุลระหว่างอุตสาหกรรมกับเกษตรกรรม
ง. ความสมดุลของความเจริญทางเทคโนโลยีกับ ภูมิปัญญาไทย
ตอบ ง. ความสมดุลของความเจริญทางเทคโนโลยีกับ ภูมิปัญญาไทย
2. จุดกำเนิดของแนวคิดทฤษฎีใหม่ของหลักการเศรษฐกิจพอเพียงเกิดขึ้นในพื้นที่จังหวัดใด
ก. จังหวัดสระบุรี ข. จังหวัดเชียงใหม่
ค. จังหวัดกาฬสินธ์ ง. จังหวัดฉะเชิงเทรา
ตอบ ก. จังหวัดสระบุรี
3. สาเหตุใดจึงต้องมีการประกาศใช้เศรษฐกิจพอเพียง
ก. สินค้าเกษตรมีราคาสูง ข. เศรษฐกิจมีการขยายตัวสูงขึ้น
ค. ปริมาณสินค้าในการบริโภคมากเกินไป ง. เกิดภาวะขาดแคลนสินค้าอุปโภคบริโภค
ตอบ ก. สินค้าเกษตรมีราคาสูง
4. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับแรกในปีพ.ศ. 2504 เป็นต้นมาไทยมีการเน้นหนักในการ พัฒนาในด้านใด
ก. การทหาร ข. การเกษตร
ค. อุตสาหกรรม ง. ด้านการบริการ
ตอบ ข. การเกษตร
5. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติของไทยเน้นการพัฒนาในด้านใดเป็นสำคัญ
ก. เน้นการส่งออก ข. เน้นการออม
ค. โครงสร้างพื้นฐาน ง. เน้นการกระจายรายได้
ตอบ ข. เน้นการออม
6. ความอ่อนแอของเศรษฐกิจไทยมีสาเหตุมาจาก ปัจจัยในด้านใดมากที่สุด
ก. ความอ่อนแอทางวัฒนธรรม ข. การพึ่งพิงการส่งออกมากเกินไป
ค. การกีดกันทางการค้าระหว่างประเทศ ง. ความนิยมสินค้าจากต่างประเทศ
ตอบ ง. ความนิยมสินค้าจากต่างประเทศ
7. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่หลักการพึ่งพอตนเองตาม แนวทางของเศรษฐกิจพอเพียง
ก. การพึ่งตนเองทางด้านสังคม ข. การพึ่งตนเองทางด้านจิตใจ
ค. การพึ่งตนเองทางด้านเศรษฐกิจ ง. การพึ่งตนเองทางด้านการเมืองการปกครอง
ตอบ ง. การพึ่งตนเองทางด้านการเมืองการปกครอง
8. แนวทางเศรษฐกิจพอเพียงส่งเสริมให้ประชาชน ดำเนินชีวิตในลักษณะใด
ก. ดำเนินชีวิตในลักษณะใด ข. ดำเนินชีวิตอย่างเคร่งครัด
ค. ดำเนินชีวิตทางสายกลางยึดความพอดี ง. ดำเนินชีวิตเพื่อสร้างความสะดวกสบายตนเอง
ตอบ ค. ดำเนินชีวิตทางสายกลางยึดความพอดี
9. หลักการใดไม่ใช่เศรษฐกิจพอเพียง
ก. การพึ่งตนเองเป็นสำคัญ ข. การสร้างนิสัยนิยมไทย
ค. การบริการดินและน้ำอย่างเหมาะสม ง. การลงทุนขนาดใหญ่เพื่อการผลิตสินค้า
ตอบ ง. การลงทุนขนาดใหญ่เพื่อการผลิตสินค้า
10. ความพอเพียงทางเทคโนโลยีตามหลักการเศรษฐกิจพอเพียงมีความหมายว่าอย่างไร
ก. การใช้เทคโนโลยีแบบผสมผสาน ข. การไม่ใช้เทคโนโลยีในการผลิต
ค. การใช้เทคโนโลยีขั้นสูงเพื่อการผลิต ง. การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการผลิต
ตอบ ก. การใช้เทคโนโลยีแบบผสมผสาน
11. ความพอเพียงด้านสังคมตามหลักการเศรษฐกิจพอเพียงหมายถึงสิ่งใด
ก. สังคมเข้มแข็ง ข. สังคมมีหลากหลาย
ค. คนในสังคมมีความเป็นอยู่ที่ดี ง. คนในสังคมไม่ต้องการความช่วยเหลือจากใคร
ตอบ ค. คนในสังคมมีความเป็นอยู่ที่ดี
12. การสร้างความพอเพียงด้านจิตใจของประชาชนหน่วยทางสังคมใดที่มีบทบาทสำคัญที่สุดในการสร้างความพอเพียง
ก. ศาสนา ข. การปกครอง
ค. ทางการศึกษา ง. สถาบันครอบครัว
ตอบ ก. ศาสนา
13. คุณธรรมด้านใดที่มีความสำคัญกับหลักเศรษฐกิจ พอเพียงมากที่สุด
ก. เป็นคนมีศีลธรรม ข. มีความละอายต่อบาป
ค. เป็นผู้มีความโอบอ้อมอารี ง. มีความซื่อสัตย์ ขยันหมั่นเพียร
ตอบ ง. มีความซื่อสัตย์ ขยันหมั่นเพียร
14. แนวทฤษฎีใหม่ให้ความสำคัญกับการจัดการทรัพยากรใดมากที่สุด
ก. มนุษย์ ข. ทรัพยากรน้ำ
ค. ทรัพยากรดิน ง. ทรัพยากรป่าไม้
ตอบ ค. ทรัพยากรดิน
15. ทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดำริขององค์ ดำเนินชีวิตแบบใด
ก. ดำเนินชีวิตที่พอเพียง ข. ตามยถากรรม
ค. ดำเนินชีวิตตามปกติ ง. ดำเนินชีวิตอย่างฟุ่มเฟือย
ตอบ ก. ดำเนินชีวิตที่พอเพียง
16. การทดลองเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่ครั้งแรกที่จังหวัดใด
ก. จังหวัดกาฬสินธุ์ ข. จังหวัดฉะเชิงเซา
ค. จังหวัดสระบุรี ง. จังหวัดสุราษฎ์ธานี
ตอบ ค. จังหวัดสระบุรี
17. เนื้อที่ในการทำการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่จะต้องมีเนื้อที่ประมาณกี่ไร่
ก. ประมาณ 5 ไร่ ข. ประมาณ 10 ไร่
ค. ประมาณ 20 ไร่ ง. ประมาณ 30 ไร่
ตอบ ข. ประมาณ 10 ไร่
18. ทฤษฎีใหม่และการดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจ พอเพียงมุ่งแก้ไขปัญหาในด้านใดในสังคมเป็นสำคัญ
ก. ความยากจน ข. ปัญหาการก่อการร้าย
ค. ปัญหาความขัดแย้งทางสังคม ง. ปัญหาความแตกแยกของประชาชน
ตอบ ก. ความยากจน
19. หลักการของทฤษฎีใหม่มีทั้งหมดจำนวนกี่ขั้น
ก. 2 ขั้น ข. 3 ขั้น
ค. 4 ขั้น ง. 5 ขั้น
ตอบ ข. 3 ขั้น
20. พื้นที่ส่วนที่ 2 ในทฤษฎีเน้นให้ประชาชนปลูกข้าวเพื่อวัตถุประสงค์ใด
ก. ไว้จำหน่ายในท้องถิ่น ข. แลกเปลี่ยนกับสินค้าชนิดอื่น
ค. เพื่อใช้บริโภคภายในครอบครัว ง. เพื่อส่งไปยังต่างประเทศเพื่อจำหน่าย
ตอบ ค. เพื่อใช้บริโภคภายในครอบครัว
21. ทฤษฎีใหม่ในขั้นที่ 2 เป็นการสร้างความเข้มแข็ง ให้แก่ระดับใด
ก. ระดับบุคคล ข. ระดับครอบครัว
ค. ระดับสังคมหรือชุมชน ง. สร้างความเข้มแข็งให้กับญาติพี่น้อง
ตอบ ค. ระดับสังคมหรือชุมชน
22. การประยุกต์ใช้ทฤษฎีใหม่สำหรับเศรษฐกิจพอเพียงใช้ได้ผลการสภาพพื้นที่ภาคใดมากที่สุด
ก. ภาคเหนือ ข. ภาคกลาง
ค. ภาคอีสาน ง. ภาคใต้
ตอบ ข. ภาคกลาง
23. ทฤษฎีใหม่กับหลักเศรษฐกิจพอเพียงต้องการพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชนในระดับใดมากที่สุด
ก. ประชาชนที่มีฐานะยากจน ข. ประชาชนที่มีฐานะค่อนข้างร่ำรวย
ค. ประชาชนที่มีฐานะค่อนข้างยากจน ง. ประชาชนที่มีฐานะระดับปานกลาง
ตอบ ง. ประชาชนที่มีฐานะระดับปานกลาง
24. การสร้างความพอเพียงในการดำเนินชีวิตตามทฤษฎีใหม่ใครมีบทบาทมากที่สุด
ก. ผู้นำทางศาสนา ข. สถาบันการศึกษา
ค. ทุกคนในท้องถิ่น ง. ผู้นำท้องถิ่น
ตอบ ง. ผู้นำท้องถิ่น
25. เศรษฐกิจแบบฟองสบู่เริ่มปรากฏในประเทศไทยเมื่อใด
ก. ปี พ.ศ. 2537 ข. ปี พ.ศ. 2538
ค. ปี พ.ศ. 2539 ง. ปี พ.ศ. 2540
ตอบ ง. ปี พ.ศ. 2540
26. ปัญหาเศรษฐกิจแบบฟองสบู่ของไทยมีสาเหตุมาจากปัจจัยใดมากที่สุด
ก. การขยายตัวทางด้านเกษตรกรรม
ข. การขยายตัวทางด้านอุตสาหกรรม
ค. การขยายตัวของการลงทุนจากนักลงทุนต่างชาติ
ง. การขยายตัวทางด้านการลงทุนด้าน อสังหาริมทรัพย์
ตอบ ง. การขยายตัวทางด้านการลงทุนด้าน อสังหาริมทรัพย์
27. เศรษฐกิจแบบฟองสบู่เกิดขึ้นในสมัยรัฐบาลชุดใด
ก. พลเอกสุจินดา คราประยูร ข. รัฐบาลชุด นายชวน หลีกภัย
ค. รัฐบาลชุด นายบรรหาร ศิลปอาชา ง. รัฐบาลชุด นายธานินทร์ กรัยวิเชียร
ตอบ ข. รัฐบาลชุด นายชวน หลีกภัย
28. การประกาศลอยตัวค่าเงินบาทเป็นนโยบายของรัฐบาลชุดใด
ก. นายสมชาย วงค์สวัสดิ์ ข. พันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร
ค. พลเอกเชาวลิต ยงใจยุทธ ง. นายชวน หลีกภัย
ตอบ ค. พลเอกเชาวลิต ยงใจยุทธ
29. ก่อนเกิดวิกฤติเศรษฐกิจไทยรัฐบาลได้นำค่าเงินบาทไปผูกยึดติดกับค่าเงินของประเทศใด
ก. อังกฤษ ข. ฝรั่งเศส
ค. สหรัฐอเมริกา ง. แคนนาดา
ตอบ ค. สหรัฐอเมริกา
30. การแก้ปัญหาวิกฤติของไทยตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงส่งเสริมให้ประชาชนหันมาประกอบอาชีพใด
ก. รับจ้าง ข. การทำการเกษตร
ค. การทำธุรกิจส่วนตัว ง. ลูกจ้างบริษัทเอกชน
ตอบ ข. การทำการเกษตร
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น