วันอาทิตย์ที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

55212 15..20 ใหม่ การควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายใน

1.ข้อใดกล่าวถึงหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ตรวจสอบภายในส่วนกลางไม่ถูกต้อง
• ค. เสนอให้หัวหน้าส่วนราชการอนุมัติให้ดำเนินการภายในเดือนตุลาคม
2.ในกรณีหน่วยรับตรวจไม่สามารถปฏิบัติตามระเบียบนี้ได้ ให้ปฏิบัติตามข้อใด
• ค. ให้หน่วยรับตรวจขอทำความตกลงกับคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
3.ข้อใดเป็นหน่วยรับตรวจตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ตรวจสอบภายใน พ.ศ. 2546
• ก. หน่วยงานของราชการส่วนภูมิภาค
4.ข้อใดไม่ใช่ความหมายของหน่วยงานของราชการส่วนท้องถิ่นตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ตรวจสอบภายใน พ.ศ. 2546
• ข. คลังจังหวัด
5.ข้อใดเรียงลำดับขั้นตอนการติดตามผลการตรวจสอบภายในได้ถูกต้องที่สุด
• ก. การวางแผนการติดตามผล ดำเนินการติดตามผล และรายงานผลการติดตาม
6.ข้อใดไม่ใช่เป็นขั้นตอนการติดตามผลการปรับปรุงแก้ไขปัญหาของหน่วยรับตรวจ
• ก. วางแผนการติดตามผล
7.ข้อใดไม่ใช่ขั้นตอนการรายงานผลการปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบภายใน
• ข. การคัดเลือกข้อมูล
8.ข้อใดไม่จัดเป็นการดำเนินการตรวจสอบตามแนวทางการตรวจสอบ (Audit Program)
• ง. การรายงานผลการตรวจสอบ
9.ผู้ใดคือผู้รักษาการตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการตรวจสอบภายในของส่วนราชการ พ.ศ. 2542
• ก. หัวหน้าส่วนราชการ
10.ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการตรวจสอบภายในของส่วนราชการ พ.ศ. 2542 มีผลบังคับใช้เมื่อใด
• ก. ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2543 เป็นต้นไป
11.ข้อใดกล่าวถึงการตรวจสอบพิเศษ (Special Audit) ไม่ถูกต้อง
• ข. การตรวจสอบในกรณีมีเรื่องร้องเรียนหรือร้องทุกข์
12.ข้อใดไม่ใช่ขั้นตอนการปฏิบัติงานการตรวจสอบการเงินการบัญชี
• ค. รายงานผลเสนอคลังจังหวัด
13.ข้อมูลที่รวบรวมเพื่อการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในควรมีลักษณะอย่างไร
• ง. ถูกทุกข้อ
14.ข้อใดกล่าวถึงลักษณะของข้อมูลที่ใช้ในการตรวจสอบภายในไม่ถูกต้อง
• ง. ความมีประโยชน์ต่อการปฏิบัติงาน
15.ข้อใดเป็นหน้าที่ของผู้ตรวจสอบภายในระดับกรม
• ง. ถูกทุกข้อ
16.ผู้ใดมีอำนาจตีความและวินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึ้นจากการบังคับใช้ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ตรวจสอบภายใน พ.ศ. 2546
• ข. คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
17.ข้อใดไม่ใช่ความหมายของการตรวจสอบภายใน
• ง. การกำกับดูแลระบบการจัดทำบัญชี
18.ข้อใดไม่ใช่คุณสมบัติของผู้ตรวจสอบภายในระดับกระทรวง
• ก. ทำหน้าที่เป็นประธานของคณะกรรมการตรวจสอบ
19.ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถึงแนวคิดพื้นฐานของการตรวจสอบงบการเงินไม่ถูกต้อง
• ข. แนวคิด Reliability ความเกี่ยวพันและสัมพันธ์กัน
20.ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของมาตรฐานการตรวจสอบ (Auditing Standards GAAS)
• ค. Reliability มาตรฐานความน่าเชื่อถือ•

ข้อใดไม่ใช่เป็นขั้นตอนการติดตามผลการปรับปรุงแก้ไขปัญหาของหน่วยรับตรวจ

ข้อใดไม่ใช่ขั้นตอนการปฏิบัติงานการตรวจสอบการเงินการบัญชี

ผู้ใดคือผู้รักษาการตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการตรวจสอบภายในของส่วนราชการ พ.ศ. 2542

ข้อใดกล่าวถึงลักษณะของข้อมูลที่ใช้ในการตรวจสอบภายในไม่ถูกต้อง

ในกรณีหน่วยรับตรวจไม่สามารถปฏิบัติตามระเบียบนี้ได้ ให้ปฏิบัติตามข้อใด

ข้อใดไม่ใช่คุณสมบัติของผู้ตรวจสอบภายในระดับกระทรวง

ข้อมูลที่รวบรวมเพื่อการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในควรมีลักษณะอย่างไร

ข้อใดกล่าวถึงการตรวจสอบพิเศษ  (Special  Audit) ไม่ถูกต้อง

ข้อใดไม่ใช่ขั้นตอนการรายงานผลการปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบภายใน

ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถึงแนวคิดพื้นฐานของการตรวจสอบงบการเงินไม่ถูกต้อง

ข้อใดเป็นหน่วยรับตรวจตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ตรวจสอบภายใน  พ.ศ. 2546

ผู้ใดมีอำนาจตีความและวินิจฉัยปัญหาที่ เกิดขึ้นจากการบังคับใช้ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการปฏิบัติ หน้าที่ของผู้ตรวจสอบภายใน  พ.ศ. 2546

ข้อใดไม่ใช่ความหมายของหน่วยงานของราชการ ส่วนท้องถิ่นตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการปฏิบัติหน้าที่ ของผู้ตรวจสอบภายใน  พ.ศ. 2546

ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการตรวจสอบภายในของส่วนราชการ พ.ศ. 2542 มีผลบังคับใช้เมื่อใด

ข้อใดเรียงลำดับขั้นตอนการติดตามผลการตรวจสอบภายในได้ถูกต้องที่สุด

ข้อใดไม่จัดเป็นการดำเนินการตรวจสอบตามแนวทางการตรวจสอบ (Audit Program)

ข้อใดเป็นหน้าที่ของผู้ตรวจสอบภายในระดับกรม

ข้อใดกล่าวถึงหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ตรวจสอบภายในส่วนกลางไม่ถูกต้อง

ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของมาตรฐานการตรวจสอบ (Auditing Standards GAAS)


ข้อใดไม่ใช่ความหมายของการตรวจสอบภายใน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น