วันศุกร์ที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

UTQ-55111 วิทยาศาสตร์ ม.ต้น


UTQ-55111 วิทยาศาสตร์ ม.ต้น     17/20  
  • คำสำคัญใดจัดเป็นเจตคติ/ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่กำหนดในมาตรฐานการเรียนรู้ ว 7.1
    – จิตวิทยาศาสตร์
  • ข้อความในมาตรฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ประกอบด้วยข้อความกี่ส่วน อะไรบ้าง
    – ส่วน คือ 1) เนื้อหาความรู้ 2) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 3) จิตวิทยาศาสตร์
  • ข้อใดเป็นการสืบสอบแบบมีโครงสร้าง (Constructed Inquiry)
    – การทดลอง
  • การประเมินตามสภาพจริงในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์มุ่งเน้นการประเมินด้านใด
    – ความรู้-ความจำ ความเข้าใจ และกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
  • พิจารณาข้อความต่อไปนี้
    (ก) การวัด คือ การกำหนดตัวเลขให้กับสิ่งที่เราต้องการประเมิน
    (ข) การประเมิน คือ การลงความเห็นบนข้อมูลที่ได้จากการวัด
    (ค) ผู้สอนสามารถนำข้อมูลที่ได้จากการวัดและประเมินผลมาใช้ในการปรับเนื้อหาความรู้
    (ง) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นองค์ประกอบที่สำคัญประการหนึ่งในกระบวนการจัดการเรียนรู้ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
    – (ก) (ข) และ (ง)
  • การให้นักเรียนการสร้างสรรค์ผลงาน มีการแก้ปัญหาและการนำเสนอผลงาน รวมทั้งส่งเสริมการคิดขั้นสูงและการทำงานร่วมกันให้แก่นักเรียน” ข้อความนี้สอดคล้องกับแนวคิดใดมากที่สุด
    – การเรียนรู้โดยใช้โครงงาน
  • วิทยาศาสตร์โลกเป็นสาขาที่ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องใด
    – ธรณีวิทยา สมุทรศาสตร์
  • มาตรฐาน ว 7.1 เข้าใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซีและเอกภพ การปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะและผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
    จากมาตรฐานการเรียนรู้ ว 7.1 ข้อใดไม่ใช่องค์ความรู้หลักที่ต้องสอนในมาตรฐานนี้
    – สิ่งมีชีวิต
  • สื่อและแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มีส่วนสำคัญที่จะช่วยพัฒนาผู้เรียนในเรื่องใดต่อไปนี้
    (ก) ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ (ข) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
    (ค) จิตวิทยาศาสตร์ (ง) กระบวนการแก้ปัญหา
    – (ข) และ (ค)
  • สื่อประเภทใดส่งเสริมแนวคิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต
    – อินเทอร์เน็ต
  • สื่อและแหล่งเรียนรู้ประเภทใดต่อไปนี้สามารถนำมาใช้ในการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ได้
    – ถูกทุกข้อ
  • ข้อใดไม่ใช่วัตถุประสงค์หลักของการจัดการเรียนการสอนเน้นแบบจำลอง
    – การสร้างแบบจำลองที่มีความสมจริงและประณีต
  • การออกข้อสอบวิชาวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดของคลอพเฟอร์แบ่งออกได้เป็นด้านใดบ้างก) ความรู้-ความจำ (ข) ความเข้าใจ
    (ค) การคิดอย่างมีเหตุผล (ง) จิตวิทยาศาสตร์
    (จ) กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
    (ฉ) การนำความรู้และวิธีการทางวิทยาศาสตร์ไป
    – (ก) (ข) (จ) (ฉ)
  • ข้อใดคือรายวิชาวิทยาศาสตร์ที่จัดสอนตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
    – วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
  • จากเป้าหมายการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ คำสำคัญใดต่อไปนี้ที่จัดเป็นทักษะ
    – การแก้ปัญหา
  • องค์ประกอบในข้อใดต่อไปนี้จะไม่ปรากฏอยู่ในตัวชี้วัด
    – การวัดและประเมินผล
  • ข้อใดไม่ใช่เหตุผลสำคัญที่ทุกคนควรเรียนวิทยาศาสตร์
    – เเป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ช่วยพัฒนาประเทศให้ทัดเทียมประเทศอื่น
  • จงพิจารณาหลักการประเมินตามสภาพจริงโดยใช้เกณฑ์คุณภาพต่อไปนี้
    (ก) การให้คะแนนแบบภาพรวมเป็นการให้คะแนนผลงานในภาพรวม
    (ข) การให้คะแนนแบบแยกส่วนเป็นการให้คะแนนแต่ละองค์ประกอบย่อยของงาน
    (ค) ผู้เรียนสามารถนำข้อมูลที่ได้จากการประเมินไปพัฒนาตนเองได้อย่างเหมาะสม
    (ง) การประเมินตามสภาพจริงจะให้คะแนนเริ่มจาก เสมอ ไม่มีศูนย์
    ข้อใดกล่าวถูกต้อง
    – (ก) (ข) (ค) และ (ง)
  • ข้อใดไม่ใช่ลักษณะสำคัญของการเรียนรู้แบบสืบสอบ
    – การนำเสนอผลการทดลอง การศึกษาค้นคว้า
  • พิจารณาหลักการสำคัญในการเลือกใช้สื่อและแหล่งเรียนรู้ต่อไปนี้ข้อใดถูกต้อง
    ก่อนใช้สื่อและแหล่งเรียนรู้ต้องมีการเตรียมความพร้อมของผู้สอนในการใช้สื่อ


1.  องค์ประกอบในข้อใดต่อไปนี้จะไม่ปรากฏอยู่ในตัวชี้วัด 
  • ก. สิ่งที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้
  • ข. การวัดและประเมินผล
  • ค. แนวทางการจัดกิจกรรม
  • ง. เจตคติ/ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
2.  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ 
                   (ก)   การวัด คือ การกำหนดตัวเลขให้กับสิ่งที่เราต้องการประเมิน
                   (ข)   การประเมิน คือ การลงความเห็นบนข้อมูลที่ได้จากการวัด
                   (ค)   ผู้สอนสามารถนำข้อมูลที่ได้จากการวัดและประเมินผลมาใช้ในการปรับเนื้อหาความรู้ 
(ง)   การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นองค์ประกอบที่สำคัญประการหนึ่งในกระบวนการจัดการเรียนรู้ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
  • ก. ก. (ก) และ (ข)
  • ข. ข. (ค) และ (ง)
  • ค. ค. (ก) (ข) และ (ง)
  • ง. ง. (ข) (ค) และ (ง)
3.  ข้อใดไม่ใช่วัตถุประสงค์หลักของการจัดการเรียนการสอนเน้นแบบจำลอง
  • ก. การสะท้อนความรู้ระหว่างการสร้างแบบจำลอง
  • ข. การสร้างแบบจำลองที่มีความสมจริงและประณีต
  • ค. การสร้างแบบจำลองเพื่อแสดงความรู้ความเข้าใจของตนเอง
  • ง. การสำรวจตรวจสอบแบบจำลองโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์
4.  สื่อและแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มีส่วนสำคัญที่จะช่วยพัฒนาผู้เรียนในเรื่องใดต่อไปนี้
                        (ก)   ความรู้ทางวิทยาศาสตร์               (ข)   ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
                        (ค)   จิตวิทยาศาสตร์                           (ง)   กระบวนการแก้ปัญหา
  • ก. ก.(ข) และ (ค)
  • ข. ข. (ข) และ (ง)
  • ค. ค และ (ง)
  • ง. ง. (ข) (ค) และ (ง)
5.  การออกข้อสอบวิชาวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดของคลอพเฟอร์แบ่งออกได้เป็นด้านใดบ้างก) ความรู้-ความจำ  (ข) ความเข้าใจ  
(ค) การคิดอย่างมีเหตุผล  (ง) จิตวิทยาศาสตร์
(จ) กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
(ฉ) การนำความรู้และวิธีการทางวิทยาศาสตร์ไป
  • ก. (ก) (ข) (ค) (ง)
  • ข. ก) (ข) (ค) (ฉ)
  • ค. (ก) (ข) (จ) (ฉ)
  • ง. (ก) (ข) (ง) (จ)
6.  จงพิจารณาหลักการประเมินตามสภาพจริงโดยใช้เกณฑ์คุณภาพต่อไปนี้ 
                        (ก)   การให้คะแนนแบบภาพรวมเป็นการให้คะแนนผลงานในภาพรวม
                        (ข)   การให้คะแนนแบบแยกส่วนเป็นการให้คะแนนแต่ละองค์ประกอบย่อยของงาน 
                        (ค)   ผู้เรียนสามารถนำข้อมูลที่ได้จากการประเมินไปพัฒนาตนเองได้อย่างเหมาะสม
                        (ง)   การประเมินตามสภาพจริงจะให้คะแนนเริ่มจาก เสมอ ไม่มีศูนย์
ข้อใดกล่าวถูกต้อง 
  • ก. (ก) (ข) และ (ค)
  • ข. (ข) (ค) และ (ง)
  • ค. (ง) เท่านั้น
  • ง. (ก) (ข) (ค) และ (ง)
7.  สื่อประเภทใดส่งเสริมแนวคิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต
  • ก. หนังสือพิมพ์
  • ข. อินเทอร์เน็ต
  • ค. เครื่องเล่นแผ่นซีดี
  • ง. นิตยสารและวารสาร
8.  สื่อและแหล่งเรียนรู้ประเภทใดต่อไปนี้สามารถนำมาใช้ในการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ได้ 
  • ก. ภูมิปัญญา
  • ข. สิ่งของใกล้ตัว
  • ค. แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น
  • ง. ถูกทุกข้อ
9.  การประเมินตามสภาพจริงในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์มุ่งเน้นการประเมินด้านใด
  • ก. ความรู้-ความจำ ความเข้าใจ และจิตวิทยาศาสตร์
  • ข. กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และจิตวิทยาศาสตร์
  • ค. ความรู้- ความจำ และ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
  • ง. ความรู้-ความจำ ความเข้าใจ และกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
10.  ข้อใดคือรายวิชาวิทยาศาสตร์ที่จัดสอนตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
  • ก. วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
  • ข. วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม
  • ค. วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม
  • ง. วิทยาศาสตร์โครงงาน
11.  จากเป้าหมายการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ คำสำคัญใดต่อไปนี้ที่จัดเป็นทักษะ
  • ก. ทฤษฎี
  • ข. หลักการ
  • ค. การแก้ปัญหา
  • ง. จิตวิทยาศาสตร์
12.  ข้อความในมาตรฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ประกอบด้วยข้อความกี่ส่วน อะไรบ้าง
  • ก. ส่วน คือ 1) เนื้อหาความรู้ 2) การคิดอย่างมีเหตุผลและการแก้ปัญหา
  • ข. 2 ส่วน คือ 1) เนื้อหาความรู้ 2) เจตคติต่อวิทยาศาสตร์และเจคติต่อวิทยาศาสตร์
  • ค. ส่วน คือ 1) เนื้อหาความรู้ 2) ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ 3) จิตวิทยาศาสตร์
  • ง. ส่วน คือ 1) เนื้อหาความรู้ 2) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 3) จิตวิทยาศาสตร์
13.  ข้อใดไม่ใช่เหตุผลสำคัญที่ทุกคนควรเรียนวิทยาศาสตร์
  • ก. ช่วยพัฒนาการคิดอย่างมีเหตุผลและการแก้ปัญหา
  • ข. ช่วยตอบข้อสงสัยเกี่ยวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติ
  • ค. ช่วยให้ดำรงชีวิตท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงได้อย่างปกติสุข
  • ง. ่้เป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ช่วยพัฒนาประเทศให้ทัดเทียมประเทศอื่น
14.  คำสำคัญใดจัดเป็นเจตคติ/ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่กำหนดในมาตรฐานการเรียนรู้ ว 7.1
  • ก. จิตวิทยาศาสตร์
  • ข. สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้
  • ค. นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
  • ง. กระบวนการสืบเสาะหาความรู้
15. พิจารณาหลักการสำคัญในการเลือกใช้สื่อและแหล่งเรียนรู้ต่อไปนี้ข้อใดถูกต้อง 
  • ก. สื่อและแหล่งเรียนรู้ทุกประเภทเป็นการสื่อสารทางเดียว
  • ข. สื่อและแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์แต่ละประเภทมีข้อจำกัดไม่แตกต่างกัน
  • ค. ก่อนใช้สื่อและแหล่งเรียนรู้ต้องมีการเตรียมความพร้อมของผู้สอนในการใช้สื่อ
  • ง. สื่อและแหล่งเรียนรู้เป็นส่วนสำคัญที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดเรียนรู้เฉพาะด้านทักษะเท่านั้น
16.  ข้อใดไม่ใช่ลักษณะสำคัญของการเรียนรู้แบบสืบสอบ
  • ก. การมีส่วนร่วมในการคิดและปฏิบัติ
  • ข. การศึกษาค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเอง
  • ค. การใช้คำถามหรือปัญหาขับเคลื่อนบทเรียน
  • ง. การนำเสนอผลการทดลอง การศึกษาค้นคว้า
17.  มาตรฐาน ว 7.1 เข้าใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซีและเอกภพ การปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะและผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
จากมาตรฐานการเรียนรู้ ว 7.1 ข้อใดไม่ใช่องค์ความรู้หลักที่ต้องสอนในมาตรฐานนี้
  • ก. เอกภพ
  • ข. กาแล็กซี
  • ค. สิ่งมีชีวิต
  • ง. ระบบสุริยะ
18.  วิทยาศาสตร์โลกเป็นสาขาที่ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องใด
  • ก. สัตววิทยา พันธุ์ศาสตร์
  • ข. สสาร ปฏิกิริยาของสาร
  • ค. ธรณีวิทยา สมุทรศาสตร์
  • ง. แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน
19.  การให้นักเรียนการสร้างสรรค์ผลงาน มีการแก้ปัญหาและการนำเสนอผลงาน  รวมทั้งส่งเสริมการคิดขั้นสูงและการทำงานร่วมกันให้แก่นักเรียน” ข้อความนี้สอดคล้องกับแนวคิดใดมากที่สุด
  • ก. การเรียนรู้โดยใช้โครงงาน
  • ข. การเรียนรู้เน้นการออกแบบ
  • ค. การเรียนรู้เน้นสถานการณ์ปัญหา
  • ง. การเรียนรู้เน้นการสร้างแบบจำลอง
20.  ข้อใดเป็นการสืบสอบแบบมีโครงสร้าง (Constructed Inquiry)
  • ก. การสาธิต
  • ข. การทดลอง
  • ค. การสืบสอบที่ครูเป็นผู้ริเริ่ม
  • ง. การสืบสอบที่นักเรียนเป็นผู้ริเริ่ม

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น