วันศุกร์ที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

UTQ-55113 เคมี ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

UTQ-55113  เคมี ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 18 คะแนน
1. การจัดการเรียนรู้เรื่องการเกิดปิโตรเลียม กระบวนการแยกแก๊สธรรมชาติ และการกลั่นลำดับส่วน โดยให้นักเรียนศึกษาบทความที่ครูได้เรียบเรียงในเอกสารประกอบการสอน แหล่งข่าวต่างๆและ you tube จากนั้นให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายถึงแนงทางการใช้ปิโตรเลียมใน ชีวิตประจำวันโดยคำนึงถึงความปลอดภัย และผลกระทบต่อสังคมในอนาคต โดยไม่มีคำตอบที่เจาะจงการจัดการเรียนรู้ดังกล่าว สอดคล้องกับการสอนด้วยวิธีการใด ก. วิธีสอนแบบอุปนัย
2. การจัดการเรียนรู้โดยวิธีอุปนัยเหมาะสำหรับเนื้อหาความรู้ที่มีลักษณะอย่างไร 
ค. เนื้อหาที่ผู้เรียนสามารถสรุปนิยามความรู้ที่แฝงอยู่จากตัวอย่างหลากหลายที่ผู้สอนจัดให้ได้
3. การวิเคราะห์เพื่อออกข้อสอบปลายภาครายวิชาเคมี มีการกำหนดค่าน้ำหนักในการประเมินแต่ละบทเรียน ดังนี้ 
บทที่ 1. ธาตุและสารประกอบ ค่าน้ำหนักในการประเมิน 30%
บทที่ 2. ปฏิกิริยาเคมี ค่าน้ำหนักในการประเมิน 30%
บทที่ 3. ปิโตรเลียม ค่าน้ำหนักในการประเมิน 40%
ถ้ากำหนดค่าน้ำหนักในการวัดพฤติกรรมการเรียนรู้ด้านความเข้าใจเท่ากับ 25% จะต้องออกข้อสอบในเรื่องปิโตรเลี่ยมจำนวนกี่ข้อ จากจำนวนข้อสอบทั้งหมด 60 ข้อ
ข. 6
4. สื่อที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้วิชาเคมีในข้อใดจัดเป็นสื่อประเภทภูมิปัญญา
 
• ข. การสัมภาษณ์หมอดินอาสาประจำหมู่บ้านเรื่องการตรวจความเป็นกรด-เบสของดิน
 
• 5. 
จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. ช่วยให้เข้าใจสมบัติและการเปลี่ยนแปลงของสารรอบตัวเรา
ข. ช่วยให้มนุษย์รู้จักวิธีใช้และข้อควรระวังในการใช้สารเคมีในชีวิตประจำวัน
ค. ใช้สมบัติและการเปลี่ยนแปลงของสารมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดำรงชีวิต
ง. ใช้เป็นพื้นฐานในการศึกษาวิทยาศาสตร์สาขาต่างๆ
 
• ง. ถูกทุกข้อ
6. 
สิ่งที่ขาดไม่ได้ในกระบวนการเรียนรู้วิชาเคมีด้วยวิธีสอนแบบสืบสอบคืออะไร
 
• ง. การใช้คำถามอย่างมีประสิทธิภาพ 
7. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ 
ก. เคมีอินทรีย์(Organic chemistry) เป็นสาขาที่เน้นศึกษาสารที่มีออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ
ข. เคมีอนินทรีย์(Inorganic chemistry) เป็นสาขาที่เน้นศึกษาสารที่ไม่มีชีวิต
ค. เคมีฝึกให้เรามีทักษะการให้เหตุผลและการแก้ปัญหา
ง. เคมีฝึกให้เรามีทักษะการคิดและการคิดวิเคราะห์
ข้อความในข้อใดถูกต้อง
• ค. ค และ ง
8. หลักการออกข้อสอบแบบตัวเลือก (multiple choices) เพื่อวัด และประเมินผลในข้อใดไม่ถูกต้อง
 
• ข. ให้ใช้ตัวเลือก “ไม่มีข้อถูก” ได้แต่ควรหลีกเลี่ยงตัวเลือก “ถูกทุกข้อ”
9. จากตัวอย่างแบบประเมินรายงานการศึกษาค้นคว้าของนักเรียนเรื่องผลผลิตจากกระบวนการกลั่นปิโตรเลียมและการนำไปใช้ประโยชน์ ดังนี้ 
รายการ ผลการประเมิน
1. การค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ที่หลากหลาย 1 2 3 4 5
2. การคัดเลือกข้อมูลในการนำเสนอ 1 2 3 4 5
3. ลำดับการนำเสนอสาระ ความเป็นเหตุผล เชื่อมโยง ต่อเนื่อง 1 2 3 4 5
4. การวิเคราะห์ข้อมูล สารสนเทศที่ได้ศึกษา 1 2 3 4 5
5. ความสอดคล้องชื่อเรื่องกับเนื้อหา 1 2 3 4 5
6. การใช้ภาษาข้อความ คำ การสะกด เครื่องหมาย 1 2 3 4 5
7. การเขียนอ้างอิงในเนื้อความและการเขียนแหล่งอ้างอิง 1 2 3 4 5
8. ความประณีต ความเป็นระเบียบของงาน 1 2 3 4 5

แบบประเมินนี้มีลักษณะการให้คะแนนเป็นแบบใด
• ก. Analytic scoring ให้คะแนนคุณภาพของผลงานโดยพิจารณาแต่ละองค์ประกอบย่อยของงาน
10. การทำโครงงานวิทยาศาสตร์ของนักเรียนเพื่อศึกษาการเกิดการละลายของสารประกอบ คลอไรด์ของธาตุหมู่ 1A และหมู่ 2A ที่อุณหภูมิห้อง และอุณหภูมิต่างๆ จากการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ดังกล่าวเป็นการบูรณาการความรู้ในสาระใดบ้าง ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
• ข. สาระที่ 3 และ สาระที่ 8 
• 11. "มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์" คำสำคัญที่ปรากฏในมาตรฐานการเรียนรู้ ว 3.1 องค์ประกอบใด เป็นการกำหนดในด้านทักษะ
• ข. มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 
12. การพาผู้เรียนไปศึกษาแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่สิ่งใดที่ครูต้องทำเป็นขั้นตอนแรก
• ก. กำหนดความมุ่งหมายของการไปศึกษา
13. "ว 3.1 ม.4-6/2 วิเคราะห์และอธิบายการจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม ความสัมพันธ์ระหว่างอิเล็กตรอนในระดับพลังงานนอกสุดกับสมบัติของธาตุและการ เกิดปฏิกิริยา" ความหมาย หรือผลการวิเคราะห์ตัวชี้วัดในข้อใดไม่ถูกต้อง
• ง. การวัดและประเมินผล คือ พิจารณาความสามารถในการวิเคราะห์ข้อมูลและนำเสนอผลการอภิปราย
14. 
จากหลักการเลือกใช้สื่อในการจัดการเรียนรู้ ดังนี้
ก. ต้องใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้ได้ทุกระดับชั้น
ข. มีความทันสมัย ดึงดูดความสนใจและเนื้อหาถูกต้อง
ค. สัมพันธ์กับเนื้อหาบทเรียน สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
ง. มีวิธีใช้ไม่ซับซ้อนยุ่งยากจนเกินไป สะดวกต่อการใช้
หลักการใดบ้างที่ถูกต้อง
• ค. ข ค และ ง 
 
15. 
ถ้าต้องการจัดการเรียนรู้เพื่อให้นัก เรียนเข้าใจลำดับขั้นของการถ่ายทอดอิเล็กตรอนในการเกิดพันธะเคมีในผลึกเกลือ แกง ควรเลือกใช้สื่อประเภทใดจึงจะเกิดประสิทธิภาพดีที่สุด
• ข. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในลักษณะแอนิเมชัน
• 16. กิจกรรมใดช่วยสามารถบูรณาการความรู้ และพัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียนตามมาตรฐาน การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ได้ทุกด้านทั้งในด้านการสืบเสาะหาความรู้ การนำความรู้ไปใช้ และ จิตวิทยาศาสตร์
• ข. การทำโครงงานวิทยาศาสตร์
• 17. ข้อสอบปรนัยจากแบบทดสอบของครูเคมีท่านหนึ่ง ดังนี้ นักเรียนกลุ่มหนึ่งทำการทดลองโดยการนำสาร 6 ชนิดมาเผาด้วยตะเกียงแอลกอฮอล์และบันทึกผลสีของเปลวไฟ และสีของเส้นสเปกตรัมที่ชัดที่สุดดังตาราง 


ข้อสอบนี้วัดความรู้เกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้านใด

• ง. การสื่อความหมายข้อมูล
18. รายวิชาใดบ้างที่ผู้เรียนทุกคนต้องเรียนให้ครบถ้วนตามสาระการเรียนรู้ แกนกลางที่กำหนดไว้ในหลักสูตรเพื่อพัฒนาผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้และ ตัวชี้วัด
• ง. วิทยาศาสตร์พื้นฐานระดับชั้น ม.ต้น และเคมีพื้นฐานระดับชั้น ม.ปลาย
19. "การจัดการเรียนรู้เรื่อง ผลของความเข้มข้นของสารตั้งต้นต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยครูผู้สอนใช้คำถามนำให้นักเรียนเกิดปัญหา ดังนี้ ถ้าต้องการทราบว่าความเข้มข้นของสารตั้งต้นในปฏิกิริยาเคมีมีผลต่ออัตราการ เกิดปฏิกิริยาเคมีหรือไม่อย่างไร จะออกแบบการทดลองได้อย่างไร? จากนั้นครูให้นักเรียนออกแบบการทดลอง ทำการทดลอง วิเคราะห์ และสรุปผลเพื่อหาคำตอบด้วยตนเองโดยครูเป็นผู้ดูแลให้คำแนะนำ และเป็นผู้ร่วมอภิปรายเพื่อให้นักเรียนได้" ข้อสรุปที่ถูกต้อง การจัดการเรียนรู้ดังกล่าว สอดคล้องกับการสอนด้วยวิธีการใด
 
• ค. วิธีสอนแบบสืบสอบ
 
20. ขั้นตอนในการพาผู้เรียนไปศึกษาแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่ ดังนี้ 
ก. กำหนดความมุ่งหมายของการไปศึกษา
ข. วางแผนเตรียมการสำรวจแหล่งเรียนรู้
ค. ปฐมนิเทศผู้เรียนเกี่ยวกับข้อปฏิบัติต่างๆที่ควรทราบ
ง. ประเมินผลกิจกรรม และสถานที่ของแหล่งเรียนรู้นั้น
ครูควรปฏิบัติเช่นไรตามลำดับขั้น
• ก. ก>ข>ค>ง




1. กิจกรรมใดช่วยสามารถบูรณาการความรู้ และพัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียนตามมาตรฐาน การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ได้ทุกด้านทั้งในด้านการสืบเสาะหาความรู้ การนำความรู้ไปใช้ และ จิตวิทยาศาสตร์
•     ก. การจัดประกวดป้ายนิเทศ
•     ข. การทำโครงงานวิทยาศาสตร์
•     ค. การวาดภาพวิทยาศาสตร์
•     ง. การทัศนศึกษานอกสถานที่
2. 
สิ่งที่ขาดไม่ได้ในกระบวนการเรียนรู้วิชาเคมีด้วยวิธีสอนแบบสืบสอบคืออะไร
•     ก. การใช้สื่อการเรียนรู้จริงในธรรมชาติ
•     ข. การบรรยายความรู้โดยครู
•     ค. ความทันสมัยของแหล่งเรียนรู้ที่ใช้ 
•     ง. การใช้คำถามอย่างมีประสิทธิภาพ 
3. 
จากหลักการเลือกใช้สื่อในการจัดการเรียนรู้ ดังนี้
     ก. ต้องใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้ได้ทุกระดับชั้น
     ข. มีความทันสมัย ดึงดูดความสนใจและเนื้อหาถูกต้อง
     ค. สัมพันธ์กับเนื้อหาบทเรียน สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
     ง. มีวิธีใช้ไม่ซับซ้อนยุ่งยากจนเกินไป สะดวกต่อการใช้
หลักการใดบ้างที่ถูกต้อง
•     ก. ก และ ข 
•     ข. ก ค และ ง
•     ค. ข ค และ ง 
•     ง. ก ข ค และ ง
4. ข้อสอบปรนัยจากแบบทดสอบของครูเคมีท่านหนึ่ง ดังนี้ นักเรียนกลุ่มหนึ่งทำการทดลองโดยการนำสาร 6 ชนิดมาเผาด้วยตะเกียงแอลกอฮอล์และบันทึกผลสีของเปลวไฟ และสีของเส้นสเปกตรัมที่ชัดที่สุดดังตาราง 
 


ข้อสอบนี้วัดความรู้เกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้านใด
 
•     ก. การลงข้อสรุป 
•     ข. การจำแนก
•     ค. การลงความเห็นจากข้อมูล 
•     ง. การสื่อความหมายข้อมูล
5. "การจัดการเรียนรู้เรื่อง ผลของความเข้มข้นของสารตั้งต้นต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยครูผู้สอนใช้คำถามนำให้นักเรียนเกิดปัญหา ดังนี้ ถ้าต้องการทราบว่าความเข้มข้นของสารตั้งต้นในปฏิกิริยาเคมีมีผลต่ออัตราการ เกิดปฏิกิริยาเคมีหรือไม่อย่างไร จะออกแบบการทดลองได้อย่างไร? จากนั้นครูให้นักเรียนออกแบบการทดลอง ทำการทดลอง วิเคราะห์ และสรุปผลเพื่อหาคำตอบด้วยตนเองโดยครูเป็นผู้ดูแลให้คำแนะนำ และเป็นผู้ร่วมอภิปรายเพื่อให้นักเรียนได้" ข้อสรุปที่ถูกต้อง การจัดการเรียนรู้ดังกล่าว สอดคล้องกับการสอนด้วยวิธีการใด
•     ก. วิธีสอนโดยใช้การสาธิต
•     ข. วิธีสอนแบบอุปนัย
•     ค. วิธีสอนแบบสืบสอบ
•     ง. วิธีสอนโดยใช้สถานการณ์จำลอง
6. "มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์" คำสำคัญที่ปรากฏในมาตรฐานการเรียนรู้ ว 3.1 องค์ประกอบใด เป็นการกำหนดในด้านทักษะ
•     ก. มีจิตวิทยาศาสตร์
•     ข. มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 
•     ค. เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้าง
•     ง. การนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
7. การจัดการเรียนรู้เรื่องการเกิดปิโตรเลียม กระบวนการแยกแก๊สธรรมชาติ และการกลั่นลำดับส่วน โดยให้นักเรียนศึกษาบทความที่ครูได้เรียบเรียงในเอกสารประกอบการสอน แหล่งข่าวต่างๆและ you tube จากนั้นให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายถึงแนงทางการใช้ปิโตรเลียมใน ชีวิตประจำวันโดยคำนึงถึงความปลอดภัย และผลกระทบต่อสังคมในอนาคต โดยไม่มีคำตอบที่เจาะจงการจัดการเรียนรู้ดังกล่าว สอดคล้องกับการสอนด้วยวิธีการใด
•     ก. วิธีสอนแบบอุปนัย 
•     ข. วิธีสอนแบบนิรนัย
•     ค. วิธีสอนโดยใช้ศูนย์การเรียน 
•     ง. วิธีสอนโดยใช้กรณีตัวอย่าง
8. การจัดการเรียนรู้โดยวิธีอุปนัยเหมาะสำหรับเนื้อหาความรู้ที่มีลักษณะอย่างไร
•     ก. เนื้อหาที่มีหลักการชัดเจนสามารถเชื่อมโยงหลักการนั้นไปสู่การอธิบายตัวอย่างย่อยๆได้
•     ข. เนื้อหาที่เข้าใจยากไม่สามารถอธิบายได้ด้วยคำพูดต้องทำให้ดูเป็นตัวอย่างแต่มีเวลาจำกัด
•     ค. เนื้อหาที่ผู้เรียนสามารถสรุปนิยามความรู้ที่แฝงอยู่จากตัวอย่างหลากหลายที่ผู้สอนจัดให้ได้
•     ง. เนื้อหาที่ไม่เจาะจงคำตอบแต่ต้องการให้ได้เหตุผลที่หลากหลายช่วยให้ตัดสินใจได้รอบคอบ
9. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ 
    ก.    เคมีอินทรีย์(Organic chemistry) เป็นสาขาที่เน้นศึกษาสารที่มีออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ
    ข.    เคมีอนินทรีย์(Inorganic chemistry) เป็นสาขาที่เน้นศึกษาสารที่ไม่มีชีวิต
    ค.    เคมีฝึกให้เรามีทักษะการให้เหตุผลและการแก้ปัญหา
    ง.    เคมีฝึกให้เรามีทักษะการคิดและการคิดวิเคราะห์
ข้อความในข้อใดถูกต้อง
•     ก. ก และ ข
•     ข. ข และ ค
•     ค. ค และ ง
•     ง. ก และ ค
10. 
จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
     ก. ช่วยให้เข้าใจสมบัติและการเปลี่ยนแปลงของสารรอบตัวเรา
     ข. ช่วยให้มนุษย์รู้จักวิธีใช้และข้อควรระวังในการใช้สารเคมีในชีวิตประจำวัน
     ค. ใช้สมบัติและการเปลี่ยนแปลงของสารมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดำรงชีวิต
     ง. ใช้เป็นพื้นฐานในการศึกษาวิทยาศาสตร์สาขาต่างๆ
•     ก. ก และ ข
•     ข. ค และ ง
•     ค. ก และ ง
•     ง. ถูกทุกข้อ
11. หลักการออกข้อสอบแบบตัวเลือก (multiple choices) เพื่อวัด และประเมินผลในข้อใดไม่ถูกต้อง
•     ก. การวัดทักษะให้หลีกเลี่ยงการใช้กราฟหรือแผนภูมิที่เหมือนกับแบบเรียน
•     ข. ให้ใช้ตัวเลือก “ไม่มีข้อถูก” ได้แต่ควรหลีกเลี่ยงตัวเลือก “ถูกทุกข้อ”
•     ค. ตัวเลือกที่เป็นตัวเลขควรเรียงลำดับให้เป็นระบบจากน้อยไปหามาก 
•     ง. ข้อความในตัวเลือกที่ถูกควรสั้นหรือยาวไม่ต่างจากกับตัวเลือกอื่นๆ
12. จากตัวอย่างแบบประเมินรายงานการศึกษาค้นคว้าของนักเรียนเรื่องผลผลิตจากกระบวนการกลั่นปิโตรเลียมและการนำไปใช้ประโยชน์ ดังนี้ 


รายการ
ผลการประเมิน
1. การค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ที่หลากหลาย
1 2 3 4 5
2. การคัดเลือกข้อมูลในการนำเสนอ
1 2 3 4  5
3. ลำดับการนำเสนอสาระ ความเป็นเหตุผล เชื่อมโยง ต่อเนื่อง
1 2 3 4 5
4. การวิเคราะห์ข้อมูล สารสนเทศที่ได้ศึกษา
1 2 3 4 5
5. ความสอดคล้องชื่อเรื่องกับเนื้อหา
1 2 3 4 5
6. การใช้ภาษาข้อความ คำ การสะกด เครื่องหมาย
1 2 3 4 5
7. การเขียนอ้างอิงในเนื้อความและการเขียนแหล่งอ้างอิง
1 2 3 4 5
8. ความประณีต ความเป็นระเบียบของงาน
1 2 3 4 5

แบบประเมินนี้มีลักษณะการให้คะแนนเป็นแบบใด
•     ก. Analytic scoring ให้คะแนนคุณภาพของผลงานโดยพิจารณาแต่ละองค์ประกอบย่อยของงาน
•     ข. Analytic scoring ให้คะแนนโดยพิจารณาองค์ประกอบหลักสำคัญที่สะท้อนคุณภาพของผลงานโดยภาพรวม
•     ค. Holistic scoring ให้คะแนนคุณภาพของผลงานโดยพิจารณาแต่ละองค์ประกอบย่อยของงาน
•     ง. Holistic scoring ให้คะแนนโดยพิจารณาองค์ประกอบหลักสำคัญที่สะท้อนคุณภาพของผลงานโดยภาพรวม
13. รายวิชาใดบ้างที่ผู้เรียนทุกคนต้องเรียนให้ครบถ้วนตามสาระการเรียนรู้ แกนกลางที่กำหนดไว้ในหลักสูตรเพื่อพัฒนาผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้และ ตัวชี้วัด
•     ก. วิทยาศาสตร์พื้นฐาน และวิทยาศาสตร์เพิ่มเติมระดับชั้น ม.ต้น
•     ข. เคมีพื้นฐาน และเคมีเพิ่มเติมระดับชั้น ม.ปลาย
•     ค. วิทยาศาสตร์พื้นฐานระดับชั้น ม.ต้น และเคมีเพิ่มเติมระดับชั้น ม.ปลาย
•     ง. วิทยาศาสตร์พื้นฐานระดับชั้น ม.ต้น และเคมีพื้นฐานระดับชั้น ม.ปลาย
14. ขั้นตอนในการพาผู้เรียนไปศึกษาแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่ ดังนี้ 
     ก. กำหนดความมุ่งหมายของการไปศึกษา
     ข. วางแผนเตรียมการสำรวจแหล่งเรียนรู้
     ค. ปฐมนิเทศผู้เรียนเกี่ยวกับข้อปฏิบัติต่างๆที่ควรทราบ
     ง. ประเมินผลกิจกรรม และสถานที่ของแหล่งเรียนรู้นั้น
ครูควรปฏิบัติเช่นไรตามลำดับขั้น
 
•     ก. ก>ข>ค>ง
•     ข. ข>ค>ก>ง
•     ค. ข>ค>ง>ก 
•     ง. ง>ก>ข>ค
15. การวิเคราะห์เพื่อออกข้อสอบปลายภาครายวิชาเคมี มีการกำหนดค่าน้ำหนักในการประเมินแต่ละบทเรียน ดังนี้ 
     บทที่ 1.     ธาตุและสารประกอบ      ค่าน้ำหนักในการประเมิน 30%
     บทที่ 2.     ปฏิกิริยาเคมี                  ค่าน้ำหนักในการประเมิน 30%
     บทที่ 3.     ปิโตรเลียม                  ค่าน้ำหนักในการประเมิน 40%
ถ้ากำหนดค่าน้ำหนักในการวัดพฤติกรรมการเรียนรู้ด้านความเข้าใจเท่ากับ 25% จะต้องออกข้อสอบในเรื่องปิโตรเลี่ยมจำนวนกี่ข้อ จากจำนวนข้อสอบทั้งหมด 60 ข้อ
•     ก. 4
•     ข. 6 
•     ค. 8
•     ง. 10
16. การพาผู้เรียนไปศึกษาแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่สิ่งใดที่ครูต้องทำเป็นขั้นตอนแรก
•     ก. กำหนดความมุ่งหมายของการไปศึกษา
•     ข. วางแผนเตรียมการสำรวจแหล่งเรียนรู้
•     ค. ปฐมนิเทศผู้เรียนเกี่ยวกับข้อปฏิบัติต่างๆที่ควรทราบ
•     ง. ประเมินผลกิจกรรม และสถานที่ของแหล่งเรียนรู้นั้น
17. การทำโครงงานวิทยาศาสตร์ของนักเรียนเพื่อศึกษาการเกิดการละลายของสารประกอบ คลอไรด์ของธาตุหมู่ 1A และหมู่ 2A ที่อุณหภูมิห้อง และอุณหภูมิต่างๆ จากการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ดังกล่าวเป็นการบูรณาการความรู้ในสาระใดบ้าง ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
•     ก. สาระที่ 1 และ สาระที่ 2
•     ข. สาระที่ 3 และ สาระที่ 8 
•     ค. สาระที่ 1 สาระที่ 7 และ สาระที่ 8
•     ง. สาระที่ 1 สาระที่ 6 และ สาระที่ 8
18. สื่อที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้วิชาเคมีในข้อใดจัดเป็นสื่อประเภทภูมิปัญญา
•     ก. กล้องสเปกโตรสโคปที่ประดิษฐ์ขึ้น
•     ข. การสัมภาษณ์หมอดินอาสาประจำหมู่บ้านเรื่องการตรวจความเป็นกรด-เบสของดิน
•     ค. แบบจำลองโครงสร้างของผลึกโซเดียมคลอไรด์ 
•     ง. ผลึกจุนสีที่นักเรียนช่วยกันเตรียมล่วงหน้าก่อนการเรียนปฏิบัติการ
19. 
ถ้าต้องการจัดการเรียนรู้เพื่อให้นัก เรียนเข้าใจลำดับขั้นของการถ่ายทอดอิเล็กตรอนในการเกิดพันธะเคมีในผลึกเกลือ แกง ควรเลือกใช้สื่อประเภทใดจึงจะเกิดประสิทธิภาพดีที่สุด
•     ก. ภาพนิ่งที่แสดงทุกขั้นตอนของกระบวนการ
•     ข. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในลักษณะแอนิเมชัน
•     ค. แบบจำลองที่แสดงโครงสร้างแบบ 3 มิติ
•     ง. สื่อ power point แสดงภาพการให้และรับอิเล็กตรอน
20. "ว 3.1 ม.4-6/2 วิเคราะห์และอธิบายการจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม ความสัมพันธ์ระหว่างอิเล็กตรอนในระดับพลังงานนอกสุดกับสมบัติของธาตุและการ เกิดปฏิกิริยา" ความหมาย หรือผลการวิเคราะห์ตัวชี้วัดในข้อใดไม่ถูกต้อง
•     ก. แนวทางการจัดกิจกรรม คือ การสืบค้นข้อมูล และการบรรยาย
•     ข. เป็นตัวชี้วัดช่วงชั้นระบุสิ่งที่ผู้เรียนรายวิชาเคมีพื้นฐานต้องรู้และปฏิบัติได้
•     ค. สิ่งที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้คือ การได้มาซึ่งข้อมูลที่ใช้ประกอบการสรุปลักษณะการจัดเรียงอิเล็กตรอนของอะตอม
•     ง. การวัดและประเมินผล คือ พิจารณาความสามารถในการวิเคราะห์ข้อมูลและนำเสนอผลการอภิปราย

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น