วันศุกร์ที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

UTQ-55115 ดาราศาสตร์ อวกาศ

UTQ-55115 ดาราศาสตร์ อวกาศจำนวนคำถาม : 20 ข้อ 15/20
•    ข้อใดกล่าวถึงลักษณะของการศึกษาวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศได้ถูกต้อง
– มีเนื้อหาครอบคลุมวิชาธรณีวิทยา อุตุนิยมวิทยา และดาราศาสตร์
•    การจัดการเรียนการสอนรายวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศมีเนื้อหาที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับเนื้อหาของวิชาวิทยาศาสตร์สาขาอื่นๆ สาขาใด
– ถูกทั้งข้อ 1 2 และ 3
•    พิจารณาองค์ประกอบต่อไปนี้
ก. ตัวชี้วัด (Indicators)  ข. สาระการเรียนรู้แกนกลาง (Core Content)  ค. มาตรฐานการเรียนรู้ (Learning Standards)  ง. การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน (Classroom Action Research) ข้อใดต่อไปนี้คือองค์ประกอบของหลักสูตรวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ
– ก. ข. และ ค.
•    จงพิจารณาหลักการประเมินตามสภาพจริงโดยใช้เกณฑ์คุณภาพต่อไปนี้
ก. การให้คะแนนแบบภาพรวมเป็นการให้คะแนนผลงานในภาพรวม
ข. การให้คะแนนแบบแยกส่วนเป็นการให้คะแนนแต่ละองค์ประกอบย่อยของงาน
ค. ผู้เรียนสามารถนำข้อมูลที่ได้จากการประเมินไปพัฒนาตนเองได้อย่างเหมาะสม
ง. การประเมินตามสภาพจริงจะให้คะแนนเริ่มจาก 1 เสมอ
ข้อใดกล่าวถูกต้อง
– ก ข ค และ ง
•    สื่อและแหล่งเรียนรู้ประเภทใดต่อไปนี้สามารถนำมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศได้
– ถูกทุกข้อ
•    พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. การวัด คือ การกำหนดตัวเลขให้กับสิ่งที่เราต้องการประเมิน
ข. การประเมิน คือ การลงความเห็นบนข้อมูลที่ได้จากการวัด
ค. ผู้สอนสามารถนำข้อมูลที่ได้จากการวัดและประเมินผลมาใช้ในการปรับเนื้อหาความรู้
ง. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นองค์ประกอบที่สำคัญประการหนึ่งในกระบวนการจัดการเรียนรู้
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
– ก ข และ ง
•    พิจารณาข้อความ ก. – ง. ต่อไปนี้
ก. ความรู้ในวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ
ข. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ค. จิตวิทยาศาสตร์
ง. กระบวนการแก้ปัญหา
สื่อ (media) และแหล่งเรียนรู้ (learning resources) ในรายวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ มีส่วนสำคัญที่ช่วยพัฒนาผู้เรียนในข้อใด
– ก ข และ ค เท่านั้น
•    หากผู้สอนต้องการจัดการเรียนการสอนในหัวข้อเรื่อง “สาเหตุและผลกระทบของภาวะเรือนกระจก” และคาดหวังให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ในหัวข้อดังกล่าวอย่าง ทั่วถึง มีโอกาสแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนประสบการณ์จนเกิดเป็นข้อสรุปของกลุ่ม ผู้สอนสามารถเลือกใช้วิธีการจัดการเรียนการสอนในข้อใด
– การสอนโดยใช้วิธีการอภิปรายกลุ่มย่อย
•    ข้อใดเปรียบเทียบการจัดทำหลักสูตรโลก ดาราศาสตร์และอวกาศในรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชาเพิ่มเติมได้ถูกต้อง
– ควรมีการจัดทำคำอธิบายรายวิชา ทั้งรายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติม
•    พิจารณาข้อความต่อไปนี้ “เป็นการระบุสิ่งที่ผู้เรียนต้องรู้และปฏิบัติได้ ในแต่ละชั้นปี มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ แต่มีความเฉพาะเจาะจงและเป็นรูปธรรมมากขึ้น” ข้อความดังกล่าวข้างต้น เป็นคำอธิบายของคำในข้อใดต่อไปนี้
– ตัวชี้วัด
•    เนื่องจากวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศเป็นวิชาวิทยาศาสตร์สาขาหนึ่ง จึงมีเป้าหมายของการจัดการเรียนการสอนที่อาศัยเป้าหมายของการจัดการเรียนการ วิทยาศาสตร์เป็นแนวทางที่สำคัญ ข้อใดไม่ใช่เป้าหมายของการเรียนวิทยาศาสตร์ ในระดับมัธยมศึกษา
– เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในทางวิทยาศาสตร์ที่นำไปสู่การประกอบอาชีพเพื่อหาเลี้ยงตนเองได้
•    พิจารณาสถานการณ์ต่อไปนี้ “คุณครูสมร ได้มอบหมายงานให้นักเรียนสร้างแบบจำลอง (Model) เพื่ออธิบายการเกิดฤดูกาลบนโลก นักเรียนกลุ่มหนึ่งได้ค้นคว้าเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดฤดูกาล แล้วนำข้อมูลที่ได้มาสร้างแบบจำลองที่สามารถจับต้องได้และประดิษฐ์ขึ้นเอง โดยใช้ไฟฉายขนาดใหญ่แทนดวงอาทิตย์ และใช้ลูกปิงปองแทนโลก โดยนักเรียนสามารถอธิบายได้ว่าการเคลื่อนที่ของโลกรอบดวงอาทิตย์ และการเอียงของแกนโลกเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดฤดูกาลบนโลก” จากสถานการณ์ข้างต้น ครูสมรได้ใช้วิธีการสอนหรือรูปแบบการเรียนการสอนใดในการจัดการเรียนการสอน
– รูปแบบการเรียนการสอนแบบ EIMA
•    ทักษะในข้อใด ไม่ใช่ทักษะสำคัญที่จะนำไปสู่การพัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
– การมีภาวะผู้นำ
•    ให้พิจารณาเกณฑ์การประเมินการสร้างแบบจำลองทางวิทยาศาสตร์ที่ใช้สมการ ทางคณิตศาสตร์ต่อไปนี้ จากตารางข้างต้นข้อใดแสดงการวิเคราะห์ได้ถูกต้อง
– เครื่องมือวัดที่ใช้ให้คะแนนเป็นการประเมินทั้งด้านผลงานและกระบวนการ
•    องค์ประกอบใดต่อไปนี้ ที่จะไม่ปรากฏอยู่ในตัวชี้วัด
– การวัดและการประเมินผล
•    ข้อจับคู่ ตัวอย่างการเลือกใช้สื่อ กับประเภทของสื่อในวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศไม่ถูกต้อง
– การเชิญนักดาราศาสตร์มาบรรยายในหัวข้อกลุ่มดาวบนท้องฟ้า – สื่อประเภทแหล่งเรียนรู้
•    พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. นำผลการวิเคราะห์ตัวชี้วัดช่วงชั้นทุกข้อ ในระดับชั้นที่กำหนดมาเรียบเรียงโดยจัดลำดับตามความสัมพันธ์
ข. ศึกษาและวิเคราะห์ข้อความในคำอธิบายรายวิชา แล้วนำเนื้อหาความรู้ที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน มาจัดไว้ในกลุ่มเนื้อหาเดียวกัน
ค. นำสาระสังเขปรายภาคมาเรียบเรียงเขียนเป็นเอกสารคำอธิบายรายวิชา
ง. วิเคราะห์สาระที่ต้องการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ทักษะที่ต้องปฏิบัติได้ และมีคุณลักษณะตามที่ระบุไว้ในมาตรฐานการเรียนรู้
ข้อใดเรียงลำดับการจัดทำหลักสูตรรายวิชาพื้นฐานโลก ดาราศาสตร์และอวกาศได้ถูกต้อง
– ง. ก. ค. และ ข.
•    ข้อใดไม่ใช่บทบาทของผู้สอนหรือผู้เรียน ในการจัดการเรียนรู้วิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศด้วยการใช้รูปแบบการเรียนการสอนเชิงผลิตภาพ ในการจัดการเรียนการสอนหัวข้อ “การเกิดซากดึกดำบรรพ์ (fossil)”
– ผู้สอนเป็นผู้กำหนดชนิดของซากดึกดำบรรพ์ รวมถึงวิธีการศึกษาหรือสร้างชิ้นงาน โดยมีผู้เรียนเป็นผู้ปฏิบัติตามที่ผู้สอนกำหนดไว้แล้วในทุกขั้นตอน
•    จงพิจารณาหลักการสำคัญในการเลือกใช้สื่อและแหล่งเรียนรู้ต่อไปนี้ข้อใดถูกต้อง
– สื่อที่นิยมใช้ในรายวิชาโลกดาราศาสตร์และอวกาศมี 5 ประเภท ซึ่งมีประสิทธิภาพและข้อจำกัดไม่แตกต่างกัน
•    ข้อใดกล่าวถึงประโยชน์ที่นักเรียนได้จากการวัดและประเมินผลทางวิทยาศาสตร์ไม่ถูกต้อง
– นำข้อมูลไปใช้ในการวางแผนการพัฒนาตนเอง



1. 
ให้พิจารณาเกณฑ์การประเมินการสร้างแบบจำลองทางวิทยาศาสตร์ที่ใช้สมการทางคณิตศาสตร์ต่อไปนี้           
จากตารางข้างต้นข้อใดแสดงการวิเคราะห์ได้ถูกต้อง 
•     ก. เกณฑ์การให้คะแนนเป็นแบบ Analytic scoring
•     ข. เกณฑ์การให้คะแนนเป็นแบบ Holistic scoring
•     ค. ผู้เรียนที่ส่งงานจะได้คะแนนต่ำที่สุดคือ 0 คะแนน
•     ง. เครื่องมือวัดที่ใช้ให้คะแนนเป็นการประเมินทั้งด้านผลงานและกระบวนการ 
2. จงพิจารณาหลักการสำคัญในการเลือกใช้สื่อและแหล่งเรียนรู้ต่อไปนี้ข้อใดถูกต้อง
•     ก. สื่อและแหล่งเรียนรู้จะต้องสัมพันธ์กับนักเรียนที่จะสอน 
•     ข. ก่อนใช้สื่อและแหล่งเรียนรู้ต้องมีการเตรียมความพร้อมของผู้สอนในการใช้สื่อ
•     ค. สื่อและแหล่งเรียนรู้เป็นส่วนสำคัญที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดเรียนรู้เฉพาะด้านทักษะเท่านั้น
•     ง. สื่อที่นิยมใช้ในรายวิชาโลกดาราศาสตร์และอวกาศมี 5 ประเภท ซึ่งมีประสิทธิภาพและข้อจำกัดไม่แตกต่างกัน
3. ข้อใดไม่ใช่บทบาทของผู้สอนหรือผู้เรียน ในการจัดการเรียนรู้วิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศด้วยการใช้รูปแบบการเรียนการสอนเชิงผลิตภาพ ในการจัดการเรียนการสอนหัวข้อ “การเกิดซากดึกดำบรรพ์ (fossil)” 
•     ก. ผู้สอนติดต่อประสานงานแหล่งเรียนรู้ เช่น พิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ และติดต่อวิทยากรเพื่อบรรยายให้ความรู้แก่นักเรียน
•     ข. ผู้สอนเป็นผู้กำหนดชนิดของซากดึกดำบรรพ์ รวมถึงวิธีการศึกษาหรือสร้างชิ้นงาน โดยมีผู้เรียนเป็นผู้ปฏิบัติตามที่ผู้สอนกำหนดไว้แล้วในทุกขั้นตอน
•     ค. ผู้เรียนแบ่งกลุ่มกันทำงาน เช่น แบ่งกันไปสืบค้นชนิดของซากดึกดำบรรพ์และเก็บข้อมูลตัวอย่างของซากดึกดำบรรพ์ แต่ละชนิด โดยมีผู้สอนหรือผู้เชี่ยวชาญดูแลให้คำแนะนำ
•     ง. ผู้เรียนและผู้สอนร่วมกันตรวจสอบกระบวนการทำงาน ติดตามความก้าวหน้าของผลงาน ผู้เรียนปรับปรุงแผนงาน ดำเนินการจนได้ผลงานออกมา เช่น จัดนิทรรศการแสดงขั้นตอนการเกิดซากดึกดำบรรพ์ชนิดต่างๆ พร้อมมีการแสดงแบบจำลองของซากดึกดำบรรพ์ 
4. ข้อใดกล่าวถึงลักษณะของการศึกษาวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศได้ถูกต้อง
•     ก. ถูกพัฒนามาจากการศึกษาทางด้านชีววิทยา
•     ข. มีเนื้อหาครอบคลุมวิชาธรณีวิทยา อุตุนิยมวิทยา และดาราศาสตร์
•     ค. เป็นวิทยาศาสตร์ที่เน้นศึกษาวัตถุในอวกาศที่ส่งผลกระทบถึงมนุษย์
•     ง. เน้นให้ผู้เรียนมีความเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมบนโลก
5. องค์ประกอบใดต่อไปนี้ ที่จะไม่ปรากฏอยู่ในตัวชี้วัด
•     ก. สิ่งที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้ 
•     ข. แนวทางการจัดกิจกรรม
•     ค. การวัดและการประเมินผล 
•     ง. เจตคติที่เกิดขึ้นจากการเรียน
6. 
พิจารณาสถานการณ์ต่อไปนี้
    “คุณ ครูสมร ได้มอบหมายงานให้นักเรียนสร้างแบบจำลอง (Model) เพื่ออธิบายการเกิดฤดูกาลบนโลก นักเรียนกลุ่มหนึ่งได้ค้นคว้าเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดฤดูกาล แล้วนำข้อมูลที่ได้มาสร้างแบบจำลองที่สามารถจับต้องได้และประดิษฐ์ขึ้นเอง โดยใช้ไฟฉายขนาดใหญ่แทนดวงอาทิตย์  และใช้ลูกปิงปองแทนโลก โดยนักเรียนสามารถอธิบายได้ว่าการเคลื่อนที่ของโลกรอบดวงอาทิตย์ และการเอียงของแกนโลกเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดฤดูกาลบนโลก” จากสถานการณ์ข้างต้น ครูสมรได้ใช้วิธีการสอนหรือรูปแบบการเรียนการสอนใดในการจัดการเรียนการสอน
•     ก. รูปแบบการเรียนการสอนแบบ EIMA 
•     ข. รูปแบบการเรียนการสอนแบบ Story Line
•     ค. วิธีการสอนโดยใช้ศูนย์การเรียนรู้ 
•     ง. การสอนโดยใช้วิธีการทำการทดลอง
7. 
พิจารณาข้อความต่อไปนี้ 
     ก. การวัด คือ การกำหนดตัวเลขให้กับสิ่งที่เราต้องการประเมิน
     ข. การประเมิน คือ การลงความเห็นบนข้อมูลที่ได้จากการวัด
     ค. ผู้สอนสามารถนำข้อมูลที่ได้จากการวัดและประเมินผลมาใช้ในการปรับเนื้อหาความรู้ 
     ง. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นองค์ประกอบที่สำคัญประการหนึ่งในกระบวนการจัดการเรียนรู้
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
•     ก. ก และ ข
•     ข. ค และ ง 
•     ค. ก ข และ ง
•     ง. ข ค และ ง
8. ข้อใดเปรียบเทียบการจัดทำหลักสูตรโลก ดาราศาสตร์และอวกาศในรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชาเพิ่มเติมได้ถูกต้อง
•     ก. การสร้างหน่วยการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐานจะมีความยืดหยุ่นขึ้นอยู่กับความ เหมาะสมของแต่ละสถานศึกษา ในขณะที่รายวิชาเพิ่มเติมจะค่อนข้างคล้ายคลึงกันในแต่ละสถานศึกษา
•     ข. การจัดทำหลักสูตรรายวิชาพื้นฐานต้องคำนึงถึงผลการเรียนรู้ ในขณะที่การจัดทำหลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติมต้องคำนึงถึงมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดช่วงชั้นเป็นสำคัญ 
•     ค. การจัดทำหลักสูตรรายวิชาพื้นฐานต้องระบุโครงสร้างเวลาชัดเจน แต่รายวิชาเพิ่มเติมไม่จำเป็นต้องระบุโครงสร้างเวลาชัดเจน
•     ง. ควรมีการจัดทำคำอธิบายรายวิชา ทั้งรายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติม
9. สื่อและแหล่งเรียนรู้ประเภทใดต่อไปนี้สามารถนำมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศได้
•     ก. สิ่งของใกล้ตัว 
•     ข. แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น 
•     ค. ภูมิปัญญา
•     ง. ถูกทุกข้อ 
10. ทักษะในข้อใด  ไม่ใช่ทักษะสำคัญที่จะนำไปสู่การพัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
•     ก. การมีภาวะผู้นำ 
•     ข. การแก้ปัญหา 
•     ค. การนำความรู้ไปใช้ 
•     ง. การสื่อสาร 
11. การจัดการเรียนการสอนรายวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศมีเนื้อหาที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับเนื้อหาของวิชาวิทยาศาสตร์สาขาอื่นๆ สาขาใด
•     ก. ฟิสิกส์ 
•     ข. เคมี
•     ค. ชีววิทยา 
•     ง. ถูกทั้งข้อ 1 2 และ 3
12. 
พิจารณาองค์ประกอบต่อไปนี้
     ก. ตัวชี้วัด (Indicators)    
     ข. สาระการเรียนรู้แกนกลาง (Core Content)
     ค. มาตรฐานการเรียนรู้ (Learning Standards)
     ง. การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน (Classroom Action Research)        
ข้อใดต่อไปนี้คือองค์ประกอบของหลักสูตรวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ
•     ก. ก. ข. และ ค.
•     ข. ก. ค. และ ง.
•     ค. ข. ค. และ ง.
•     ง. ก. ข. และ ง.
13. 
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
     ก. นำผลการวิเคราะห์ตัวชี้วัดช่วงชั้นทุกข้อ ในระดับชั้นที่กำหนดมาเรียบเรียงโดยจัดลำดับตามความสัมพันธ์
     ข. ศึกษาและวิเคราะห์ข้อความในคำอธิบายรายวิชา แล้วนำเนื้อหาความรู้ที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน มาจัดไว้ในกลุ่มเนื้อหาเดียวกัน
     ค. นำสาระสังเขปรายภาคมาเรียบเรียงเขียนเป็นเอกสารคำอธิบายรายวิชา
     ง. วิเคราะห์สาระที่ต้องการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ทักษะที่ต้องปฏิบัติได้ และมีคุณลักษณะตามที่ระบุไว้ในมาตรฐานการเรียนรู้ 
ข้อใดเรียงลำดับการจัดทำหลักสูตรรายวิชาพื้นฐานโลก ดาราศาสตร์และอวกาศได้ถูกต้อง
•     ก. ก. ข. ค. และ ง.
•     ข. ข. ง. ค. และ ก.
•     ค. ง. ค. ข. และ ก. 
•     ง. ง. ก. ค. และ ข.
14. ข้อจับคู่ ตัวอย่างการเลือกใช้สื่อ กับประเภทของสื่อในวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศไม่ถูกต้อง
•     ก. การใช้โปรแกรมท้องฟ้าจำลอง stellarium สอนเรื่องการโคจรของดาวฤกษ์ – สื่อประเภทสื่ออิเล็กทรอนิกส์
•     ข. การให้นักเรียนอ่านรายงานข่าวผลกระทบจากพายุหมุนเขตร้อนจากหนังสือพิมพ์ – สื่อประเภทสื่อสิ่งพิมพ์
•     ค. การให้นักเรียนทดลองเพื่ออธิบายการเกิดเมฆ โดยใช้แก้วน้ำ น้ำแข็ง น้ำอุ่น ธูป และกระจกนาฬิกา - สื่อประเภทอุปกรณ์การทดลอง 
•     ง. การเชิญนักดาราศาสตร์มาบรรยายในหัวข้อกลุ่มดาวบนท้องฟ้า – สื่อประเภทแหล่งเรียนรู้
15. ข้อใดกล่าวถึงประโยชน์ที่นักเรียนได้จากการวัดและประเมินผลทางวิทยาศาสตร์ไม่ถูกต้อง
•     ก. นำข้อมูลไปใช้ในการวางแผนการพัฒนาตนเอง
•     ข. ช่วยให้เข้าใจเนื้อหา สาระในวิชาวิทยาศาสตร์มากขึ้น
•     ค. สามารถแสดงศักยภาพของตนเองได้อย่างหลากหลาย
•     ง. ได้รับรู้ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับศักยภาพในการเรียนรู้ของตนเอง
16. 
พิจารณาข้อความต่อไปนี้ 
     “เป็นการระบุสิ่งที่ผู้เรียนต้องรู้และปฏิบัติได้ ในแต่ละชั้นปี มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ แต่มีความเฉพาะเจาะจงและเป็นรูปธรรมมากขึ้น” ข้อความดังกล่าวข้างต้น เป็นคำอธิบายของคำในข้อใดต่อไปนี้
•     ก. สาระการเรียนรู้แกนกลาง 
•     ข. ตัวชี้วัด
•     ค. คุณภาพผู้เรียน 
•     ง. จิตวิทยาศาสตร์
17. หากผู้สอนต้องการจัดการเรียนการสอนในหัวข้อเรื่อง “สาเหตุและผลกระทบของภาวะเรือนกระจก” และคาดหวังให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ในหัวข้อดังกล่าวอย่าง ทั่วถึง  มีโอกาสแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนประสบการณ์จนเกิดเป็นข้อสรุปของกลุ่ม ผู้สอนสามารถเลือกใช้วิธีการจัดการเรียนการสอนในข้อใด
•     ก. การสอนโดยใช้วิธีการอุปนัย
•     ข. การสอนโดยใช้วิธีการสาธิตทดลอง
•     ค. การสอนโดยใช้วิธีการอภิปรายกลุ่มย่อย
•     ง. การสอนโดยใช้วิธีการทัศนศึกษา
18. 
พิจารณาข้อความ ก. – ง. ต่อไปนี้
     ก. ความรู้ในวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ    
     ข. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 
     ค. จิตวิทยาศาสตร์                 
     ง. กระบวนการแก้ปัญหา 
สื่อ (media) และแหล่งเรียนรู้ (learning resources) ในรายวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ มีส่วนสำคัญที่ช่วยพัฒนาผู้เรียนในข้อใด
•     ก. ก ข และ ค เท่านั้น 
•     ข. ก ข และ ง เท่านั้น
•     ค. ก ค และ ง เท่านั้น 
•     ง. ก ข ค และ ง 
19. เนื่องจากวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศเป็นวิชาวิทยาศาสตร์สาขาหนึ่ง จึงมีเป้าหมายของการจัดการเรียนการสอนที่อาศัยเป้าหมายของการจัดการเรียนการ วิทยาศาสตร์เป็นแนวทางที่สำคัญ  ข้อใดไม่ใช่เป้าหมายของการเรียนวิทยาศาสตร์ ในระดับมัธยมศึกษา
•     ก. เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจหลักการ ทฤษฎีที่เป็นพื้นฐานในวิทยาศาสตร์
•     ข. เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจขอบเขต ธรรมชาติ และข้อจำกัดของวิทยาศาสตร์
•     ค. เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในทางวิทยาศาสตร์ที่นำไปสู่การประกอบอาชีพเพื่อหาเลี้ยงตนเองได้
•     ง. เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะที่สำคัญในการศึกษาค้นคว้าและคิดค้นทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
20. 
จงพิจารณาหลักการประเมินตามสภาพจริงโดยใช้เกณฑ์คุณภาพต่อไปนี้ 
     ก. การให้คะแนนแบบภาพรวมเป็นการให้คะแนนผลงานในภาพรวม
     ข. การให้คะแนนแบบแยกส่วนเป็นการให้คะแนนแต่ละองค์ประกอบย่อยของงาน 
     ค. ผู้เรียนสามารถนำข้อมูลที่ได้จากการประเมินไปพัฒนาตนเองได้อย่างเหมาะสม
     ง. การประเมินตามสภาพจริงจะให้คะแนนเริ่มจาก 1 เสมอ 
ข้อใดกล่าวถูกต้อง
•     ก. ก ข และ ค 
•     ข. ข ค และ ง 
•     ค. ง เท่านั้น 
•     ง. ก ข ค และ ง 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น