2101.คณะกรรมการทุกคณะควรแต่งตั้งจากผู้ชำนาญการหรือผู้ทรงคุณวุฒิ
เกี่ยวกับพัสดุหรืองานจ้างนั้นๆ ยกเว้นกรรมการชุดใด
1.คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา
2.คณะกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคา
3.คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
4.คณะกรรมการตรวจการจ้าง
5.คณะกรรมการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ
เกี่ยวกับพัสดุหรืองานจ้างนั้นๆ ยกเว้นกรรมการชุดใด
1.คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา
2.คณะกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคา
3.คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
4.คณะกรรมการตรวจการจ้าง
5.คณะกรรมการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ
2102. .การตกลงราคาเหตุใดต้องใช้ใบสั่งชื้อสั่งจ้างในการดำเนินงาน
1.สะดวกไม่ผูกพันกับงบประมาณ
2.ราคาชื้อมีจำนวนไม่มาก
3.ไม่ต้องเรียกหลักประกันสัญญากับผู้ขาย
4.ข้อ ก และข้อ ข.
2103. ตัวเลือกข้อใดเป็นระบบการใช้งบประมาณของไทย
1.MTEF
2.PBBS
3.SPPBS
4.SPBBS
1.สะดวกไม่ผูกพันกับงบประมาณ
2.ราคาชื้อมีจำนวนไม่มาก
3.ไม่ต้องเรียกหลักประกันสัญญากับผู้ขาย
4.ข้อ ก และข้อ ข.
2103. ตัวเลือกข้อใดเป็นระบบการใช้งบประมาณของไทย
1.MTEF
2.PBBS
3.SPPBS
4.SPBBS
2104.มติของคณะกรรมการให้ถือเสียงข้างมาก
ยกเว้นมติของคณะกรรมการ
ในข้อใดให้ถือ เป็นเอกฉันท์
1.คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
2.คณะกรรมการตรวจการจ้าง
3.คณะกรรมการควบคุมการก่อสร้าง
4.คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา
5.ข้อ 1 และ 2.
ในข้อใดให้ถือ เป็นเอกฉันท์
1.คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
2.คณะกรรมการตรวจการจ้าง
3.คณะกรรมการควบคุมการก่อสร้าง
4.คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา
5.ข้อ 1 และ 2.
2105. .การเผยแพร่ประกาศสอบราคาในประเทศต้องเผยแพร่อย่างไรถูกต้องที่สุด
1.เผยแพร่ตามส่วนราชการไม่น้อยกว่า 10 วันก่อนวันเปิดซอง
2.เผยแพร่ในเว็บไซด์ของกรมบัญชีกลางและเว็บที่เกี่ยวข้อง
ไม่น้อยกว่า 10 วันก่อนวันเปิดซอง
3.เผยแพร่ตามส่วนราชการไม่น้อยกว่า 15 วันก่อนวันเปิดซอง
4.เผยแพร่ในเว็บไซด์ของกรมบัญชีกลางและเว็บที่เกี่ยวข้อง
ไม่น้อยกว่า 15 วันก่อนวันเปิดซอง
5.ข้อ 1. และ ข้อ 2
2106.ภารกิจงานใดที่ได้รับการกระจายอำนาจจำนวนภาระงานมากที่สุด
1.การบริหารงานด้านวิชาการ
2.การบริหารงานด้านบุคลากร
3.การบริหารงานงบประมาณ
4.การบริหารงานทั่วไป
5.ข้อ -3. และ ข้อ 4
1.เผยแพร่ตามส่วนราชการไม่น้อยกว่า 10 วันก่อนวันเปิดซอง
2.เผยแพร่ในเว็บไซด์ของกรมบัญชีกลางและเว็บที่เกี่ยวข้อง
ไม่น้อยกว่า 10 วันก่อนวันเปิดซอง
3.เผยแพร่ตามส่วนราชการไม่น้อยกว่า 15 วันก่อนวันเปิดซอง
4.เผยแพร่ในเว็บไซด์ของกรมบัญชีกลางและเว็บที่เกี่ยวข้อง
ไม่น้อยกว่า 15 วันก่อนวันเปิดซอง
5.ข้อ 1. และ ข้อ 2
2106.ภารกิจงานใดที่ได้รับการกระจายอำนาจจำนวนภาระงานมากที่สุด
1.การบริหารงานด้านวิชาการ
2.การบริหารงานด้านบุคลากร
3.การบริหารงานงบประมาณ
4.การบริหารงานทั่วไป
5.ข้อ -3. และ ข้อ 4
2107.งบดำเนินงาน หมวดค่าตอบแทนข้อใดไม่ถูกต้อง
1.ค่าจ้างนอกเวลา
2.ค่าตอบแทนวิทยากร
3.ค่าใช้จ่ายในการไปราชการในราชอาณาจักร
4.ค่าควบคุมงานก่อสร้าง
5.ค่าตอบแทนคณะกรรมการตรวจการรับจ้าง
1.ค่าจ้างนอกเวลา
2.ค่าตอบแทนวิทยากร
3.ค่าใช้จ่ายในการไปราชการในราชอาณาจักร
4.ค่าควบคุมงานก่อสร้าง
5.ค่าตอบแทนคณะกรรมการตรวจการรับจ้าง
2108.ในแต่ละเดือนโรงเรียนต้องหักภาษี
ณ ที่จ่าย ร้อยละ 1 ของ เงินที่มีผู้จ่ายให้โรงเรียน ตามแบบใดบ้าง
1.ภ.ง.ด. 1
2.ภ.ง.ด. 3
3.ภ.ง.ด. 53
4.ข้อ 2 และข้อ 3
2109. .ตัวเลือกข้อใดไม่ใช่ลักษณะรายได้แผ่นดิน
1.ต้องนำส่งคืนคลัง
2.ค่าขายรูปแบบรายการ
3.ดอกเบี้ยเงินอุดหนุน
4.ค่าธรรมเนียมในการสอบ
5.ต้องส่งคืนอย่างช้าไม่เกินวันที่ 31 มีนาคม ปีถัดไป
1.ภ.ง.ด. 1
2.ภ.ง.ด. 3
3.ภ.ง.ด. 53
4.ข้อ 2 และข้อ 3
2109. .ตัวเลือกข้อใดไม่ใช่ลักษณะรายได้แผ่นดิน
1.ต้องนำส่งคืนคลัง
2.ค่าขายรูปแบบรายการ
3.ดอกเบี้ยเงินอุดหนุน
4.ค่าธรรมเนียมในการสอบ
5.ต้องส่งคืนอย่างช้าไม่เกินวันที่ 31 มีนาคม ปีถัดไป
2110.ตัวเลือกข้อใดไม่ใช่มาตรฐานทางการเงิน
1.การวางแผนงบประมาณ
2.การคำนวณต้นทุนผลผลิต
3.การจัดระบบพัสดุ
4.การควบคุมภายใน ( การตรวจสอบภายใน)
5.การรายงานทางการเงิน
1.การวางแผนงบประมาณ
2.การคำนวณต้นทุนผลผลิต
3.การจัดระบบพัสดุ
4.การควบคุมภายใน ( การตรวจสอบภายใน)
5.การรายงานทางการเงิน
2111.ตัวเลือกข้อใดไม่ใช่ค่าสาธารณูปโภค
1.ค่าดวงตราไปรษณีย์อากร
2.ค่าอินเตอร์เน็ต
3.ค่าเคเบิลทีวี
4.ค่าปรับปรุงประปาโรงเรียน
5.ค่าบัตรเติมเงิน
1.ค่าดวงตราไปรษณีย์อากร
2.ค่าอินเตอร์เน็ต
3.ค่าเคเบิลทีวี
4.ค่าปรับปรุงประปาโรงเรียน
5.ค่าบัตรเติมเงิน
2112. ในกรณีที่ข้าราชการครู ต่างเขตพื้นที่การศึกษา กระทำผิดวินัยร่วมกัน และมีปัญหาหรือความเห็นขัดแย้งในการแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน ระหว่างผู้มีอำนาจตามมาตรา 53 ให้ใคร…
เป็นผู้วินิจฉัยชี้ขาด
1.ก.ค.ศ
2.เลขาธิการ
กพฐ
3.ผอ. สพท
4.อ.ก.ค.ศ เขตพื้นที่การศึกษา
2113.เหตุอันควรลดหย่อนจะนำมาประกอบการพิจารณาลดโทษกรณีกระทำผิดวินัยเล็กน้อย
หรือมีเหตุอันควรลดหย่อนซึ่งยังไม่ถึงกับจะต้องถูกลงโทษตัดเงินเดือนให้ทำตามข้อใดอันเป็นการสมควร
1. ว่ากล่าวตักเตือน
2.ภาคทัณฑ์
3. ให้ทำทัณฑ์บนเป็นหนังสือหรือว่ากล่าวตักเตือนก็ได้
4.ได้ทุกข้อที่กล่าวมา
2114.ในกรณีกระทำผิดวินัยเล็กน้อยและมีเหตุอันควรงดโทษ
จะงดโทษให้โดยทำตามข้อใดอันเป็นการสมควรก็ได้
1. ว่ากล่าวตักเตือน
2.ภาคทัณฑ์
3. ให้ทำทัณฑ์บนเป็นหนังสือ
4.ได้ ทั้ง 1 และ 3
5. ได้ทั้ง 1-2 และ 3
2115.ถ้าเป็นความเห็นขัดแย้งระหว่างผู้มีอำนาจสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนในเขตพื้นที่การศึกษาเดียวกัน
ให้นำเสนอ.ใคร ..พิจารณา
1. ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
2.อ.ก.ค.ศ เขตพื้นที่การศึกษา
3.เลขาธิการ กพฐ.
4.ประธาน อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา
2116.ถ้าเป็นความเห็นขัดแย้งระหว่างผู้มีอำนาจสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
ต่างเขตพื้นที่การศึกษา ให้นำเสนอ ใคร. พิจารณา
1. เลขาธิการ กพฐ. วินิจฉัยชี้ขาด
2. ก.ค.ศ
3. . เลขาธิการ กพฐ.
หรือ ก.ค.ศ
แล้วแต่กรณี
4. รัฐมนตรี
2117.
ถ้าต้อง.การแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มรายชื่อผู้สำเร็จการศึกษาในแบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษา (ปพ.3) ที่ส่งไปเก็บรักษาที่ สพท.และ
สพฐ. กระทรวงศึกษาธิการ แล้วให้ดำเนินการตามข้อใดอันดับแรกที่ถูกต้อง
1.สถานศึกษายื่นคำร้องขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มรายชื่อต่อ
คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาแล้วแต่กรณี..เพื่อพิจาณา
2. ผอ. สพท.
แต่งตั้งคณะกรรมการ สอบสวนหาข้อเท็จจริง
3.สถานศึกษายื่นคำร้องขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มรายชื่อต่อ ผอ. สพท.
4.สถานศึกษายื่นคำร้องขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มรายชื่อต่อ
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานให้ความเห็นชอบก่อน
2118.
ผู้อำนวยการสถานศึกษาได้สั่งปิดสถานศึกษาชั่วคราวด้วยวาจา.จากนั้นท่านจะต้องทำเป็นคำสั่งเป็นหนังสือแจ้งเพื่อให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาภายในกี่วันนับตั้งแต่สั่งด้วยวาจา
1.ทำเป็นหนังสือ ภายใน 7
วันนับตั้งแต่การสั่งด้วยวาจา
2. ทำเป็นหนังสือ
ภายใน 3 วันนับตั้งแต่การสั่งด้วยวาจา
3.ทำเป็นหนังสือ ภายใน 5 วันนับตั้งแต่การสั่งด้วยวาจา
4. สั่งครูธุรการ ทำเป็นหนังสือทันทีเพื่อแจ้งให้ทราบ
2119. ให้สถานศึกษาพิจารณาผ่อนผันให้เด็กเข้าเรียนก่อนอายุย่างเข้าปีที่เจ็ด
ตามที่ผู้ปกครองร้องขอไว้ด้วยเหตุหนึ่งเหตุใด ตามข้อใด ถูกต้อง
1.
เด็กเรียนจบการศึกษาระดับปฐมวัย
2.
ในกรณีที่เด็กไม่จบการศึกษาระดับปฐมวัยหรือเทียบเท่า แต่ผู้ปกครองร้องขอ
และผ่านการประเมินความพร้อมทางด้านสติปัญญา ร่างกาย
จิตใจ อารมณ์ และสังคมตามประกาศของ กระทรวงศึกษาธิการ
3.
ในกรณีที่เด็กไม่จบการศึกษาระดับปฐมวัยหรือเทียบเท่า แต่ผู้ปกครองร้องขอ
และผ่านการประเมินความพร้อมทางด้านสติปัญญา ร่างกาย
จิตใจ อารมณ์ และสังคมตามประกาศของ คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
4.ถูกทั้ง 1 และ 3
5.
ถูกทั้ง 1 และ 2
2120. ให้สถานศึกษาพิจารณาผ่อนผันให้เด็กเข้าเรียนหลังอายุย่างเข้าปีที่เจ็ด
ตามที่ผู้ปกครองร้องขอไว้ด้วยเหตุหนึ่งเหตุใด ดังต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด
1.เด็กเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อร้ายแรง
ที่เป็นอุปสรรคต่อการเรียนรู้ของเด็กตามความเห็นของแพทย์ผู้ซึ่งได้รับใบอนุญาตให้ประกอบโรคศิลป์
2.
เด็กเจ็บป่วยและอยู่ในระหว่างการพักรักษาตัว ไม่สามารถเข้าเรียนในสถานศึกษาภายในสี่สิบห้าวัน นับแต่วันเปิดภาคเรียนแรกของปีการศึกษา
ตามความเห็นของแพทย์ผู้ซึ่งได้รับใบอนุญาตให้ประกอบโรคศิลป์
3.
เด็กที่มีความจำเป็นอื่นที่ไม่สามารถเข้าเรียนตามปกติได้ด้วยเหตุสุดวิสัย แล้วแต่กรณี
4. เด็กที่ป่วยเป็นไข้ไม่สามารถมาเรียนได้
2121. .ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับเงินสวัสดิการการศึกษาของบุตร
1.เป็นบุตรของข้าราชการที่ถูกต้องตามกฎหมายอายุ 3 ปีแต่ไม่เกิน 25 ปี
2.เบิกได้จนถึงระดับปริญญาตรีทุกหลักสูตรไม่ว่าจะ 4 ปี หรือ 6 ปี
3.การเบิกจ่ายระดับปริญญาตรีเบิกได้ปีการศึกษาละไม่เกิน 22,000 บาท
4.บุตรที่เรียนในต่างประเทศเบิกได้เฉพาะระดับประถมถึงมัธยมตอนปลาย
1.เป็นบุตรของข้าราชการที่ถูกต้องตามกฎหมายอายุ 3 ปีแต่ไม่เกิน 25 ปี
2.เบิกได้จนถึงระดับปริญญาตรีทุกหลักสูตรไม่ว่าจะ 4 ปี หรือ 6 ปี
3.การเบิกจ่ายระดับปริญญาตรีเบิกได้ปีการศึกษาละไม่เกิน 22,000 บาท
4.บุตรที่เรียนในต่างประเทศเบิกได้เฉพาะระดับประถมถึงมัธยมตอนปลาย
2122. .การเดินทางไปสอบเพื่อเป็นผู้อำนวยการสถานศึกษาเบิกค่าใช้จ่ายใน
การเดินทางได้หรือไม่
1.เบิกไม่ได้
2.เบิกได้ หากได้รับอนุมัติจากผู้บังคับบัญชา
3.เบิกได้เพราะถือว่าไปราชการ
4.เบิกได้เพราะถือว่าไปปฏิบัติราชการ
การเดินทางได้หรือไม่
1.เบิกไม่ได้
2.เบิกได้ หากได้รับอนุมัติจากผู้บังคับบัญชา
3.เบิกได้เพราะถือว่าไปราชการ
4.เบิกได้เพราะถือว่าไปปฏิบัติราชการ
2123.ตัวเลือกใดเป็นผู้มีอาวุโสในราชการมากที่สุด
1.รอง เอ อายุ 50 ปี ค.ศ.3 เงินเดือน 36,000 บาท
2.รอง บี อายุ 49 ปี ค.ศ.3 เงินเดือน 46,000 บาท
3.รอง ดี อายุ 56 ปี ค.ศ.2 เงินเดือน 37,000 บาท
4.รอง ตี๋ อายุ 40 ปี ค.ศ.4 เงินเดือน 45,680 บาท
5.รองสวย อายุ 59 ปี ค.ศ.3 เงินเดือน 53,680 บาท
1.รอง เอ อายุ 50 ปี ค.ศ.3 เงินเดือน 36,000 บาท
2.รอง บี อายุ 49 ปี ค.ศ.3 เงินเดือน 46,000 บาท
3.รอง ดี อายุ 56 ปี ค.ศ.2 เงินเดือน 37,000 บาท
4.รอง ตี๋ อายุ 40 ปี ค.ศ.4 เงินเดือน 45,680 บาท
5.รองสวย อายุ 59 ปี ค.ศ.3 เงินเดือน 53,680 บาท
2124.การสร้างความสัมพันธ์กับชุมชนและท้องถิ่นท่านเป็นผู้บริหารสถานศึกษาจะใช้ทักษะใดที่จะช่วยให้ประสบผลสำเร็จมากที่สุด
1.ทักษะทางการคิด
2. ทักษะการประสาน
3.ทักษะมนุษยสัมพันธ์
4.ทักษะการสื่อสาร
2125.การจัดระบบการบริหารและการพัฒนาองค์กร รวมทั้ง งานเทคโนโลยี เพื่อการศึกษา และการดำเนินงานธุรการ ถ้าท่านเป็นผู้บริหารสถานศึกษาท่านจะให้ รองท่านใดรับผิดชอบ
2125.การจัดระบบการบริหารและการพัฒนาองค์กร รวมทั้ง งานเทคโนโลยี เพื่อการศึกษา และการดำเนินงานธุรการ ถ้าท่านเป็นผู้บริหารสถานศึกษาท่านจะให้ รองท่านใดรับผิดชอบ
1.รอง เอ หัวหน้าการบริหารงานวิชาการ
2. รองบี หัวหน้า
การบริหารทั่วไป
3.
รอง บ่อน.หัวหน้างาน บริหารงานบุคคล
4.
รอง เติบ หัวหน้า งานบริหารงานด้านงบประมาณ
2126. ข้อใดกล่าวผิด
1. มาตรฐานการศึกษา หมายถึง ข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพ ที่พึงประสงค์และมาตรฐานที่ต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแห่ง
2. การศึกษา หมายความว่า กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม
3.การศึกษาตลอดชีวิต”
หมายความว่า การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
4.การประกันคุณภาพภายใน”
หมายความว่า การประเมินผลและการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายใน
โดยบุคลากรของสถานศึกษา
5.ครู” หมายความว่า
บุคคล ซึ่งทำหน้าที่หลักทางด้านการเรียนการสอนและการส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนการวิจัยด้วยวิธีการต่าง
ๆ ในสถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน
2127.การจัดการศึกษาให้ยึดหลักดังนี้ ข้อใดบัญญัติไว้ถูกต้อง
1.เป็นการศึกษาตลอดชีวิตให้กับประชาชน
2.ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
3. การพัฒนากระบวนการเรียนรู้และสาระให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
4. ถูกทั้ง 1 และ 2
5. ถูกทั้ง
1-2 และ 3
2128. การจัดระบบ โครงสร้าง และกระบวนการจัดการศึกษา ให้ยึดหลักดังนี้
ข้อใดบัญญัติไว้ไม่ถูกต้อง
1.มีเอกภาพด้านนโยบาย และมีความหลากหลายในการปฏิบัติ
2. มีการกระจายอำนาจไปสู่ คณะกรรมการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
และสถานศึกษา โดยตรง
3. มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับและประเภทการศึกษา
4. มีหลักการส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
5. ระดมทรัพยากรจากแหล่งต่าง ๆ มาใช้ในการจัดการศึกษา
2129.ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง..
การจัดการศึกษา
1.ต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
2. สำหรับบุคคลซึ่งมีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ต้องจัดให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิและโอกาสได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นพิเศษ
3.สำหรับคนพิการให้จัดตั้งแต่แรกเกิดหรือพบความพิการโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
4. สำหรับบุคคลซึ่งมีความสามารถพิเศษ ต้องจัดด้วยรูปแบบที่เหมาะสมโดยคำนึงถึง
ความแตกต่างระหว่างบุคคลเป็นพิเศษ
2130.การจัดการศึกษารูปแบบใด ที่กำหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบ
วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล
ซึ่งเป็นเงื่อนไขสำคัญของการสำเร็จการศึกษา
1. การศึกษาในระบบ
2.การศึกษานอกระบบ
3. การศึกษาตามอัธยาศัย
4. ถูกทั้ง 1 และ 2
2131.การจัดการศึกษารูปแบบใด
ที่กำหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขของการสำเร็จการศึกษาที่แน่นอน
1. การศึกษาในระบบ
2.การศึกษานอกระบบ
3. การศึกษาตามอัธยาศัย
4. ถูกทั้ง 1 และ 2
2133.การศึกษาในระบบมีสองระดับ
คือ ข้อใดบัญญัติถูกต้อง
1. การศึกษาขั้นพื้นฐาน และการศึกษาก่อนระดับอุดมศึกษา
2. . การศึกษาขั้นพื้นฐาน และการศึกษาระดับอุดมศึกษา
3. . การศึกษาขั้นพื้นฐาน และการศึกษาก่อนอุดมศึกษาและระดับปริญญา
4. . การศึกษาขั้นพื้นฐาน และการศึกษาภาคบัง
2134.การศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบด้วย
การศึกษาซึ่งจัดไม่น้อยกว่าสิบสองปีก่อนระดับอุดมศึกษา แต่
การศึกษาระดับอุดมศึกษาแบ่งเป็นสองระดับ คือ ข้อใดถูกต้อง
1.ระดับต่ำกว่าอุดมศึกษา และระดับปริญญา
2.ระดับต่ำกว่าปริญญา และระดับปริญญา
3.ระดับต่ำกว่าปริญญาตรี และระดับปริญญาตรี
4. ระดับก่อนอุดมศึกษาและระดับปริญญา
2135. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1.ให้มีการศึกษาภาคบังคับจำนวนเก้าปี โดยให้เด็กซึ่งมีอายุย่างเข้าปีที่เจ็ด
เข้าเรียนในสถานศึกษาจนอายุย่างเข้าปีที่สิบหก เว้นแต่สอบได้ชั้นปีที่เก้าของการศึกษาภาคบังคับ
2.ให้มีการศึกษาภาคบังคับจำนวนเก้าปี โดยให้เด็กซึ่งมีอายุย่างเข้าปีที่เจ็ด
เข้าเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจนอายุย่างเข้าปีที่สิบหก เว้นแต่สอบได้ชั้นปีที่เก้าของการศึกษาขั้นพื้นฐาน
3.ให้มีการศึกษาภาคบังคับจำนวนเก้าปี
โดยให้เด็กซึ่งมีอายุย่างเข้าปีที่เจ็ด เข้าเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจนอายุย่างเข้าปีที่สิบหก
เว้นแต่สอบได้ชั้นปีที่เก้าของการศึกษาภาคบังคับ
4.ให้มีการศึกษาภาคบังคับจำนวนเก้าปี โดยให้เด็กซึ่งมีอายุย่างเข้าปีที่เจ็ดและอายุย่างเข้าปีที่สิบหกเข้ารับการศึกษาภาคบังคับ
เว้นแต่สอบได้ชั้นปีที่เก้าของการศึกษา ขั้นพื้นฐานแล้ว
2136.การจัดการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบ ต้องเน้นความสำคัญทั้งความรู้
คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้
และบูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละระดับการศึกษาในเรื่องต่อไปนี้ ใดกล่าวผิด
1.จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน
โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
2. ความรู้เรื่องเกี่ยวกับตนเอง และความสัมพันธ์ของตนเองกับสังคม
3. ความรู้และทักษะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
3. ความรู้เกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปัญญาไทย
4. ความรู้ และทักษะด้านคณิตศาสตร์ และด้านภาษา เน้นการใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง
5. ไม่มีข้อใดกล่าวผิด
2137. ข้อใดกล่าวผิด
1. การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ยึด.เขตพื้นที่การศึกษา
2.ให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีหน้าที่จัดทำพัฒนาสาระของหลักสูตร
3. ให้รัฐมนตรีโดยคำแนะนำของสภาการศึกษา มีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา..กำหนดเขตพื้นที่การศึกษา
4.ให้คณะกรรมการสภาการศึกษา ประกอบด้วย รัฐมนตรีเป็นประธาน
5.ให้สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา เป็นนิติบุคคล และให้เลขาธิการสภาเป็นกรรมการและเลขานุการใน
คณะกรรมการสภาการศึกษา
2138.อำนาจหน้าที่ใคร..ประสานและส่งเสริมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ให้สามารถจัดการศึกษาสอดคล้องกับนโยบายและมาตรฐานการศึกษา
1. คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
2. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
3. คณะกรรมการสถานศึกษา
4. ถูกทั้ง 1 และ 2
5.ถูกทั้ง 1-2-3
2139.ให้กระทรวงกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา
ทั้งด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารทั่วไปไปยัง
หน่วยงานการศึกษาและผู้เกี่ยวข้องตามข้อใด
1. คณะกรรมการ และสพท. และสถานศึกษาในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาโดยตรง
2.คณะกรรมการ และสพท. และสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาโดยตรง
3.คณะกรรมการ และ เขตพื้นที่การศึกษา
และสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาโดยตรง
4.คณะกรรมการ และเขตพื้นที่การศึกษา
สถานศึกษาขั้นพื้นฐานและองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
2140
บุคคลที่ผู้บริหารจะต้องจัดการศึกษาให้มีสิทธิและโอกาสได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นพิเศษ ยกเว้นผู้ใด
1.
เด็กชายสมใจ จะสามารถอ่านอักษร
ตัวพิมพ์ขยายใหญ่ด้วยอุปกรณ์เครื่องช่วยอ่านถึงเข้าใจ
2.
เด็กชาย สมยศ
ใส่เครื่องช่วยฟังถึงจะฟังเพลงได้สบายๆ
3. เด็กหญิง รุจิรา เป็นผู้ที่มีความสามารถ คิดวิเคราะห์
อ่านคล่อง เขียนคล่อง
4. เด็กชาย ขยัน
มีความเจ็บป่วยเรื้อรังหรือมีโรคประจำตัวซึ่งจำเป็นต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
มาโรงเรียนได้บ้างและไม่ได้บ้าง
5. จะต้องจัดให้กับทุกคนเป็นพิเศษ
2141.
ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
กำหนดประเภทและหลักเกณฑ์ของคนพิการทางการศึกษา พ.ศ. 2552
1.
บุคคลที่มีความบกพร่องทางร่างกาย หรือการเคลื่อนไหว
2. บุคคลที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
3.
บุคคลที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษา
4. บุคคลที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรม หรือ สุขภาพ
5. กล่าวถูกทุกข้อ
2142. “ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา” ซึ่งได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพตามพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษาพ.ศ. 2546 หมายถึงความตามข้อใด
1. ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาอื่น
2.ครู
ผู้บริหารสถานศึกษา
ผู้บริหารการศึกษา ศึกษานิเทศก์
และบุคลากรทางการศึกษาอื่น
3.ข้าราชการครู
ผู้บริหารสถานศึกษา
ผู้บริหารการศึกษา
และบุคลากรทางการศึกษา
4.ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และ ศึกษานิเทศก์
2143.ให้มีสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
เรียกว่า “คุรุสภา”
มีฐานะเป็นนิติบุคคล
ในกำกับของใคร.
1. คณะกรรมการคุรุสภา และกระทรวงศึกษาธิการ
2.กระทรวงศึกษาธิการ
3. คุรุสภา
4.สภาวิชาชีพหรือ กระทรวงศึกษาธิการ
2144.คุรุสภามีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ ข้อใดบัญญัติไม่ถูกต้อง
1. กำหนดมาตรฐานวิชาชีพ
ออกและเพิกถอนใบอนุญาต
กำกับดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ
รวมทั้งการพัฒนาวิชาชีพ
2.กำหนดนโยบายและแผนพัฒนาวิชาชีพ
3. ประสาน
ส่งเสริมการศึกษาและการวิจัยเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ
4. ส่งเสริมและสนับสนุนมาตรฐานวิชาชีพและ
ออกและเพิกถอนใบอนุญาต
2145.คุรุสภามีอำนาจหน้าที่
ข้อใดบัญญัติไม่ถูกต้อง
1. กำหนดมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ
2. ควบคุมความประพฤติและการดำเนินงานของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ
3. ออกใบอนุญาตให้แก่ผู้ขอประกอบวิชาชีพ
4. พักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาต
5. ประสาน
ส่งเสริมการศึกษาและการวิจัยเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ
2146 .เพื่อให้การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของประเทศไทย มีคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล
บนพื้นฐานของความเป็นไทย สพฐ.
จึงกำหนดเป้าประสงค์ดังนี้ ข้อใดกล่าวผิด
1.นักเรียนระดับก่อนประถมศึกษามีพัฒนาการที่เหมาะสมตามช่วงวัย
และได้สมดุล และนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกคนมีพัฒนาการเหมาะสมตามช่วงวัยและมีคุณภาพ
2.ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับโอกาสในการศึกษาขั้นพื้นฐาน
อย่างทั่วถึง มีคุณภาพ และเสมอภาค รวมทั้งเด็กด้อยโอกาส
3. ครู ผู้บริหารสถานศึกษา
และบุคลำกรทางการศึกษาอื่น มีทักษะที่เหมาะสม และมีวัฒนธรรมการทำงานที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์
4. สพท.มีประสิทธิภาพและเป็นกลไกขับเคลื่อนการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่คุณภาพระดับมาตรฐานสากล
5. สพฐ. บูรณาการการทำงานเน้นการบริหารแบบมีส่วนร่วม
กระจายอำนาจและความรับผิดชอบสู่ สพท.
2147. อำนาจหน้าที่
ใคร ส่งเสริม สนับสนุน ยกย่อง และผดุงเกียรติผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา และ
รับรองปริญญา ประกาศนียบัตร หรือวุฒิบัตรของสถาบันต่างๆ ตามมาตรฐานวิชาชีพ
1. ก.ค.ศ
2. คุรุสภา
3.
คณะกรรมการคุรุสภา
4.
คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
5.
ถูกทั้ง 1 และ 2
2149.อำนาจหน้าที่ ใคร
เป็นตัวแทนผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาของประเทศไทย
1.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
2. คุรุสภา
3. ประธานกรรมการคุรุสภา หรือ คุรุสภา
4. ถูกทั้ง 1 และ 3
5. ถูกทั้ง
1 และ 2
2150.คณะกรรมการคุรุสภา..ประธานกรรมการใคร..เป็นผู้แต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒที่มีความรู้
ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์สูงด้านการศึกษา มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ หรือกฎหมาย
1.รัฐมนตรีที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย
2. รัฐมนตรี
3. คณะรัฐมนตรี
4.
ปลัดกระทรวงศึกษา
2151.คณะกรรมการคุรุสภา.กรรมการโดยตำแหน่งข้อใดกล่าวผิด.
1.ปลัดกระทรวงศึกษาธิการและเลขาธิการสภาการศึกษา..
2.
เลขาธิการ.กพฐ และ เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
3.เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
และ เลขาธิการ. ก.ค.ศ
4.ผู้อำนวยการสำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
5.ผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น ( หัวหน้า)
2152.คณะกรรมการคุรุสภา..กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจำนวนกี่...คนซึ่งใคร..แต่งตั้งจากผู้ที่มีความรู้.ความเชี่ยวชาญ.และประสบการณ์สูงด้านการบริหารการศึกษา.การอาชีวศึกษา.การศึกษาพิเศษ.มนุษยศาสตร์.สังคมศาสตร์.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
และกฎหมายด้านละหนึ่งคน
1. 7
คน /คณะรัฐมนตรี
2.
8 คน
/รัฐมนตรี
3.
7 คน
/รัฐมนตรี
4. 8
คน /คณะรัฐมนตรี
2156.คณะกรรมการคุรุสภา..กรรมการจากผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
ซึ่งเลือกตั้งมาจากผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาจำนวน 19 คน
ในจำนวนนี้ต้องเป็นผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาที่ดำรงตำแหน่งใด กล่าวผิด
1. ครูและ ผู้บริหารสถานศึกษา
2.
ผู้บริหารการศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาอื่น
3. ครูและ ผู้บริหารสถานศึกษา และ ศึกษานิเทศก์
4. ผู้บริหารการศึกษา
2157.ใน
คณะกรรมการคุรุสภา ข้อใดกล่าวผิด
1. ให้เลขาธิการคุรุสภาเป็นกรรมการและเลขานุการ
2.กรรมการซึ่งได้รับแต่งตั้งจากผู้ดำรงตำแหน่งคณบดีคณะครุศาสตร์หรือศึกษาศาสตร์
หรือ.การศึกษาซึ่งเลือกกันเองจากสถาบันอุดมศึกษาของรัฐจำนวน 3 คน
3. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 7 คน ซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง
4.ประธานกรรมการ
ซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิ
5.กรรมการจากผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาซึ่งเลือกตั้งมาจากผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาจำนวน
19 คน
2158.คณะกรรมการคุรุสภา..ประธานกรรมการ..กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีคุณสมบัติทั่วไป
และไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้ = ลักษณะต้องห้าม =ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
1.เป็นบุคคลล้มละลายซึ่งศาลยังไม่สั่งให้พ้นจากคดี
2. เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
3.เคยมีประวัติเสื่อมเสียทางจริยธรรม
จรรยาบรรณ และการประกอบวิชาชีพ
4.
เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง. สมาชิกสภาท้องถิ่น
5.ไม่เคยต้องโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก..เว้นแต่เป็นโทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
2159.อำนาจหน้าที่ใคร..ให้คำปรึกษาหรือเสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบายหรือปัญหาการพัฒนาวิชาชีพ
1. ก.ค.ศ
2. คุรุสภา
3. คณะกรรมการคุรุสภา
4. คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
5. ถูกทั้ง 1 และ 2
2160.การเสนอร่างข้อบังคับของคุรุสภาจะกระทำได้เมื่อคณะกรรมการคุรุสภามีมติเห็นชอบกับร่างข้อบังคับดังกล่าวและให้ใคร...เป็นผู้เสนอร่างข้อบังคับนั้นต่อรัฐมนตรีโดยไม่ชักช้า
1.ประธานกรรมการคุรุสภา
2.ประธานคณะกรรมการคุรุสภา
3.
คุรุสภา
4. เลขาธิการคุรุสภา
2161.คณะกรรมการคุรุสภา..กรรมการที่มาจากผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาที่ดำรงตำแหน่งครู
ต้องมีคุณสมบัติเฉพาะดังต่อไปนี้ –ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1.เป็นผู้มีใบอนุญาตและไม่เคยถูกสั่งพักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาต
2. เป็นผู้มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอนมาแล้วรวมกันไม่น้อยกว่าสิบห้าปี ( 10 ปี )
3.ดำรงตำแหน่งอาจารย์
3 หรือมีวิทยฐานะเป็นครูชำนาญการขึ้นไป
4.ถูกทั้ง 1 และ 2
5. ถูกทั้ง 1 และ 3
2162.อำนาจหน้าที่ใคร.พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์คำสั่งของคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
1.ประธานกรรมการคุรุสภา
2. คณะกรรมการคุรุสภา
3.
คุรุสภา
4. เลขาธิการคุรุสภา
5. ประธานคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
2163.ให้คำปรึกษาและแนะนำแก่คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ.และเร่งรัดให้พนักงานเจ้าหน้าที่ส่วนราชการ..หรือคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพปฏิบัติตามอำนาจและหน้าที่ที่กฎหมายกำหนด .เป็นอำนาจหน้าที่ใคร.
1.
รัฐมนตรี
2. คณะกรรมการคุรุสภา
3.
คุรุสภา
4. เลขาธิการคุรุสภา
5. ประธานคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
2164.เป็นอำนาจหน้าที่ใคร.กำหนดนโยบายการบริหารงานและให้ความเห็นชอบแผนการดำเนินงานของ สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา
1. รัฐมนตรี
2. คณะกรรมการคุรุสภา
3.
คุรุสภา
4. เลขาธิการคุรุสภา
2165.ให้มีคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ.ประธานกรรมการซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งจากกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ.ในคณะกรรมการคุรุสภาและ.กรรมการโดยตำแหน่งข้อใดกล่าวถูกต้อง
1.เลขาธิการ
.กพฐ. และเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
2. เลขาธิการ ก.ค.ศ
3. .
เลขาธิการ ก.ค.ศ และ เลขาธิการคณะกรรมการอุดมศึกษา
4. ถูกทั้ง 1 และ 2
5.
ถูกทั้ง 1-2 และ 3
2166.ให้มีคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
ประกอบด้วย ตามข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
1. ประธานกรรมการซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้ง..จาก
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
ในคณะกรรมการคุรุสภา
2.กรรมการโดยตำแหน่ง.เลขาธิการ.กพฐ. เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เลขาธิการคุรุสภา และเลขาธิการ ก.ค.ศ
3. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน
4 คน
4. ให้เลขาธิการคุรุสภา
เป็น กรรมการและเลขานุการ
5.กรรมการจากผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาจำนวน
6 คน
2167.คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพมีอำนาจและหน้าที่
ดังต่อไปนี้ -ข้อใดกล่าวผิด
1. พิจารณาการออกใบอนุญาตให้แก่ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
และการพักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาต
2. กำกับดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
3. ส่งเสริมพัฒนาและเสนอแนะคณะกรรมการคุรุสภากำหนดมาตรฐานและจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ
4. ส่งเสริม
ยกย่อง และพัฒนาวิชาชีพไปสู่ความเป็นเลิศในสาขาต่างๆ ตามที่กำหนดในข้อบังคับของ..คณะกรรมการคุรุสภา ( คุรุสภา)
5.แต่งตั้งที่ปรึกษาคณะอนุกรรมการหรือมอบหมายกรรมการมาตรฐานวิชาชีพเพื่อกระทำการใดๆ
อันอยู่ในอำนาจและหน้าที่ของคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
2168.ให้
คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพเสนอรายงานการดำเนินงานประจำปีต่อใคร.. และตามระเบียบที่ใคร... กำหนด
1.คณะกรรมการคุรุสภา
ตามระเบียบที่ คุรุสภา กำหนด
2.
คุรุสภา ตามระเบียบที่ คณะกรรมการคุรุสภา กำหนด
3.คณะกรรมการคุรุสภา ตามระเบียบที่คณะกรรมการคุรุสภากำหนด
4.
รัฐมนตรี ตามระเบียบที่
คณะกรรมการคุรุสภากำหนด
2169.ให้คณะกรรมการคุรุสภามีการประชุม
เป็นไปตามข้อใด
1.อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
2.อย่างน้อยเดือนละ2
ครั้งถ้ามีเรื่องจำเป็นเร่งด่วน
3.เดือนละ1
ครั้งเว้นเสียจากกรณีจำเป็นมากกว่านี้ก็ได้
4.อย่างน้อยเดือนละ
1 หรือ 2 ครั้งแล้วแต่กรณี
2170.ให้คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพและใคร.มีอำนาจเรียกบุคคลใดๆมาให้ถ้อยคำหรือแจ้งให้บุคคลใดๆส่งเอกสารหรือวัตถุพยานที่จำเป็นต่อการดำเนินงาน
1.
คุรุสภา
2.คณะกรรมการคุรุสภา
3.ประธานกรรมการคุรุสภา
4.
มีอำนาจทุกข้อที่กล่าวมา
2171.ให้กรรมการคุรุสภา กรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
อนุกรรมการและคณะทำงานได้รับเบี้ยประชุมและประโยชน์ตอบแทนอื่นตามระเบียบที่ใคร.กำหนดโดยความเห็นชอบของใคร..
1.รัฐมนตรีกำหนด
โดยความเห็นชอบของ กระทรวงการคลัง
2.รัฐมนตรีกำหนด โดยความเห็นชอบของ คณะรัฐมนตรี
3.คณะกรรมการคุรุสภา กำหนด โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
4. ข้อบังคับของ คุรุสภา กำหนด
โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
2172.ให้มีสำนักงานเลขาธิการคุรุสภามีหน้าที่ ตามข้อใด..กล่าวถูกต้อง
1.รับผิดชอบเกี่ยวกับการดำเนินงานของ..คณะกรรมการคุรุสภา (คุรุสภา)
2 .ประสานและดำเนินการเกี่ยวกับกิจการอื่นที่คุรุสภามอบหมาย
3. จัดทำรายงานประจำปีเกี่ยวกับการดำเนินงานเสนอต่อ.รัฐมนตรี
( คุรุสภา)
4.ถูกทั้ง 1 และ 3
5. ถูกทั้ง 1-2 และ 3
2173. ใคร..เป็นผู้มีอำนาจสรรหาแต่งตั้งและถอดถอนเลขาธิการคุรุสภา
ตามหลักเกณฑ์และวิธีการสรรหาเลขาธิการคุรุสภาให้เป็นไปตามข้อบังคับของ.คุรุสภา
1.
คุรุสภา
2.คณะกรรมการคุรุสภา
3.ประธานกรรมการคุรุสภา
4.รัฐมนตรี
2174.เลขาธิการคุรุสภาต้องเป็นผู้สามารถทำงานให้แก่สำนักงานเลขาธิการคุรุสภาได้เต็มเวลา
และต้องเป็นผู้ที่มีคุณสมบัติทั่วไป ดังนี้
ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1.มีอายุไม่ต่ำกว่า
30 ปีบริบูรณ์และไม่เกิน 70 ปี
2.มีอายุไม่ต่ำกว่า
35 ปีบริบูรณ์และไม่เกิน 70 ปี
3.มีอายุไม่ต่ำกว่า 35 ปีบริบูรณ์และไม่เกิน 65 ปี
4.มีอายุไม่ต่ำกว่า
30 ปีบริบูรณ์และไม่เกิน 65 ปี
2175.ผู้จะดำรงตำแหน่ง..
เลขาธิการคุรุสภา ลักษณะต้องห้าม ข้อใดกล่าวผิด
1. เป็นบุคคลล้มละลายซึ่งศาลยังไม่สั่งให้พ้นจากคดี
2. เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
3.เคยมีประวัติเสื่อมเสียทางจริยธรรม
จรรยาบรรณ และการประกอบวิชาชีพ
4.ไม่เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
5. เป็นผู้มีส่วนได้เสียในกิจการที่กระทำกับคุรุสภา
2175.เลขาธิการคุรุสภามีหน้าที่บริหารกิจการของสำนักงานเลขาธิการคุรุสภาให้เป็นไปตามกฎหมาย.และเป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานเจ้าหน้าที่ทุกตำแหน่งเว้น..แต่ผู้ดำรงตำแหน่งตามข้อใด
1.
พนักงานลูกจ้างประจำ
2. ตรวจสอบภายใน
3.
เจ้าหน้าที่ธุรการ
4.
บริหารงานบุคคล
5.
ไม่ได้บัญญัติไว้
2176. ใคร.. มีหน้าที่ .ดูแลรักษาทะเบียนผู้ได้รับใบอนุญาต
รวมทั้ง ควบคุมดูแลทรัพย์สินของคุรุสภาและ.เสนอรายงานประจำปีเกี่ยวกับผลการดำเนินงานด้านต่างๆของสำนักงานเลขาธิการคุรุสภาและ
รายงานการเงินและบัญชี.ตลอดจนเสนอแผนดำเนินงาน แผนการเงิน และงบประมาณของปีต่อไปต่อคณะกรรมการคุรุสภาเพื่อพิจารณา
1. ประธานกรรมการคุรุสภา
2.
เจ้าหน้าคุรุสภาที่ประธานกรรมการคุรุสภา มอบหมาย
3.
คุรุสภา
4. เลขาธิการ คุรุสภา
2178. เป็นอำนาจหน้าที่ใคร..บรรจุ แต่งตั้ง
เลื่อน ลด ตัดเงินเดือน หรือค่าจ้าง ลงโทษทางวินัยพนักงานเจ้าหน้าที่ตลอดจนให้พนักงานเจ้าหน้าที่ออกจากตำแหน่งทั้งนี้ตามข้อบังคับที่
ใคร...กำหนด
1. ประธานกรรมการคุรุสภา ตามข้อบังคับ
คุรุสภา
2. คณะกรรมการคุรุสภา ตามข้อบังคับ คุรุสภา
3.เลขาธิการ
คุรุสภา ตามข้อบังคับ คุรุสภา
4. เลขาธิการ คุรุสภา
ตามข้อบังคับ คณะกรรมการคุรุสภา
2179.ให้คณะกรรมการคุรุสภาเป็นผู้กำหนดอัตราเงินเดือนและประโยชน์ตอบแทนอื่นของ.เลขาธิการคุรุสภาโดยความเห็นชอบของใคร.
1. คณะรัฐมนตรี
2. กระทรวงการคลัง
3.
รัฐมนตรี
4.
สำนักงบประมาณ
2180.วิชาชีพใดให้เป็นวิชาชีพควบคุมตามพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
พ.ศ. 2546
การกำหนดวิชาชีพควบคุมอื่นให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง บัญญัติไว้ตามข้อใดถูกต้อง
1. วิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษา
2. วิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และ ศึกษานิเทศก์
3.วิชาชีพครู
ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษา และบุคลากรทางการศึกษา
4. วิชาชีพครู ผู้อำนวยการสถานศึกษา และ ผู้บริหารการศึกษา
2181. ผู้ขอรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพควบคุมต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ ข้อใดถูกต้อง
1.มีอายุไม่ต่ำกว่ายี่สิบปีบริบูรณ์
2. มีวุฒิปริญญาตรีทางการศึกษา
หรือเทียบเท่า หรือมีคุณวุฒิอื่นที่คุรุ
สภารับรอง (
ไม่มีตรี )
3. ผ่านการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตามหลักสูตรปริญญาทางการศึกษาเป็นเวลาไม่น้อยกว่าหนึ่งปี
และผ่านเกณฑ์การประเมินปฏิบัติการสอนตามหลักเกณฑ์ วิธีการ
และเงื่อนไขที่คณะกรรมการคุรุสภากำหนด
4. ถูกทั้ง 1 และ 2
5. ถูกทั้ง 1 และ 3
2182.การขอรับใบอนุญาต
การออกใบอนุญาต การกำหนดอายุใบอนุญาต การต่ออายุใบอนุญาต การขอรับใบแทนใบอนุญาต
และการออกใบแทนใบอนุญาต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ
และเงื่อนไขที่กำหนดในข้อบังคับของใคร.
1.
ประธานกรรมการคุรุสภา
2.
ประธานคณะกรรมการคุรุสภา
3. คุรุสภา
4. เลขาธิการ คุรุสภา
2182.คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพพิจารณาวินิจฉัย.ไม่ออกใบอนุญาต.ไม่ต่ออายุใบอนุญาต
หรือไม่ออกใบแทนใบอนุญาต
อาจอุทธรณ์คำสั่งดังกล่าวต่อใคร.. ภายใน 30 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้ง
1. ประธานกรรมการคุรุสภา
2. คณะกรรมการคุรุสภา
3.
คุรุสภา
4. เลขาธิการ คุรุสภา
2183.ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท..หรือทั้งจำทั้งปรับ ตามข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
1.ผู้ใดแสดงด้วยวิธีใดๆให้ผู้อื่นเข้าใจว่าตนมีสิทธิหรือพร้อมจะประกอบวิชาชีพ
โดยไม่ได้รับใบอนุญาตจาก.คุรุสภา
2..สถานศึกษารับผู้ไม่ได้รับใบอนุญาตเข้าประกอบวิชาชีพควบคุมในสถานศึกษา
3.ผู้อยู่ในระหว่างถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตผู้ใดประกอบวิชาชีพควบคุมแสดงด้วยวิธีใดๆ
ให้ผู้อื่นเข้าใจว่าตนมีสิทธิหรือพร้อมจะประกอบวิชาชีพควบคุมได้
4. ผู้ใดประกอบวิชาชีพควบคุม
โดยไม่ได้รับใบอนุญาต
(ข้อ4..ระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
หรือทั้งจำทั้งปรับ )
5. กล่าวถูกต้องทุกข้อ
2184. ข้อบังคับว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ
ประกอบด้วย ข้อบัญญัติไว้ไม่ถูกต้อง
1.มาตรฐานความรู้และมาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพ
2.มาตรฐานการปฏิบัติงาน
3. มาตรฐานการปฏิบัติตน
4.ถูกต้องทุกข้อที่กล่าวมา
2185.ให้ใคร.รักษาการตามข้อบังคับนี้ข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ
พ.ศ. 2556
1.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
2. ประธานกรรมการคุรุสภา
3. ประธานคณะกรรมการคุรุสภา
4.พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร
2186.บุคคลซึ่งได้รับความเสียหายจากการประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพของผู้ได้รับใบอนุญาตมีสิทธิกล่าวหาผู้ได้รับใบอนุญาตผู้นั้นโดยทำเรื่องยื่นต่อใคร..
1.
ประธานกรรมการคุรุสภา
2.
คณะกรรมการคุรุสภา
3. คุรุสภา
4. เลขาธิการ คุรุสภา
2189.ผู้ประกอบวิชาชีพครู
ต้องมีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีทางการศึกษา หรือเทียบเท่าหรือมีคุณวุฒิอื่นที่คุรุสภารับรอง
โดยมี .มาตรฐานความรู้ ประกอบด้วย ข้อใดกล่าวผิด
1. ความเป็นครู
และ ปรัชญาการศึกษา
2. ภาษาและวัฒนธรรม
และ จิตวิทยาสำหรับครู
3. หลักสูตร
และ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน
4. การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ และ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
5. การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ และ
การประกันคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
2190.บุคคลอื่นมีสิทธิกล่าวโทษผู้ประกอบวิชาชีพว่า..ผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพ
โดยแจ้งเรื่องต่อ ใคร
.1.
เจ้าหน้าที่ตำรวจ
2.
ผู้นวยการสถานศึกษาที่หน่วยงาน การศึกษานั้น
3. คุรุสภา
4. ประธานคณะกรรมการคุรุสภา
2191.ผู้ประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา
ต้องมีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีทางการบริหารการศึกษา หรือเทียบเท่า หรือมีคุณวุฒิอื่นที่คุรุสภารับรอง
โดยมีมาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ ( มาตรฐานความรู้ = ประกอบด้วยความรู้ ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
1. การพัฒนาวิชาชีพ และ ความเป็นผู้นำทางวิชาการ
2. การบริหารสถานศึกษา
และ หลักสูตร การสอน การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
3. กิจการและกิจกรรมพัฒนานักเรียน
4. คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณ
5. กล่าวถูกต้องทุกข้อ
2192.บุคคลอื่นมีสิทธิกล่าวโทษผู้ประกอบวิชาชีพว่า..ผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพ
โดยแจ้งเรื่องต่อคุรุสภา..เมื่อคุรุสภาได้รับเรื่องการกล่าวหาหรือการกล่าวโทษ
ให้เลขาธิการคุรุสภาเสนอเรื่องดังกล่าวต่อใคร.. โดยไม่ชักช้า
1.คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
2.คณะกรรมการคุรุสภา
3.ประธานกรรมการคุรุสภา
4.ประธานคณะกรรมการคุรุสภา
2193.คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพมีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดอย่างใดอย่างหนึ่ง ข้อใดบัญญัติ..ไม่ถูกต้อง
1. ยกเว้นข้อกล่าวหา
2. ตักเตือน และ ภาคทัณฑ์
3.พักใช้ใบอนุญาตมีกำหนดเวลาตามที่เห็นสมควร
แต่ไม่เกิน 5 ปี
4. เพิกถอนใบอนุญาต
5. ถูกต้องทุกที่กล่าวมา
2194. ผู้ประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา..(มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพ = ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1.
มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอนมาแล้วไม่น้อยกว่าห้าปี
2. มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอนและต้องมีประสบการณ์ในตำแหน่ง
หัวหน้าหมวด หรือหัวหน้างาน หรือตำแหน่งบริหารอื่น
ๆเช่น หัวหน้าคณะหมอลำ หรือหัวหน้ามาสาย ในสถานศึกษามาแล้ว
ไม่น้อยกว่าสองปี
3.
มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอนและต้องมีประสบการณ์ในตำแหน่ง
หัวหน้าหมวด
หรือหัวหน้าสาย ในสถานศึกษามาแล้ว
ไม่น้อยกว่าสองปี
4. ถูกทั้ง 1 และ 3
5. ถูกทั้ง 1-2- และ 3
2195.ผู้ได้รับใบอนุญาตถูกกล่าวหาหรือถูกกล่าวโทษซึ่งคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพวินิจฉัยชี้ขาด
/ ตักเตือน/ ภาคทัณฑ์.. พักใช้ใบอนุญาตมีกำหนดเวลาตามที่เห็นสมควรแต่ไม่เกิน
5 ปี หรือ เพิกถอนใบอนุญาต..อาจอุทธรณ์คำวินิจฉัยต่อใคร.และกี่วัน.นับแต่วันได้รับแจ้งคำวินิจฉัย
1.คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ ไม่เกิน 30 วัน
2.คณะกรรมการคุรุสภา ไม่เกิน 30 วัน
3.
คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
ภายใน 30 วัน
4. คณะกรรมการคุรุสภา ภายใน 30 วัน
2196.สมาชิกของคุรุสภามีสองประเภท สมาชิกสามัญและ สมาชิกกิตติมศักดิ์..แต่ สมาชิกกิตติมศักดิ์จะเป็นผู้ทรงคุณวุฒิซึ่ง.คณะกรรมการคุรุสภาแต่งตั้ง.ถามว่า.สิทธิและหน้าที่ของสมาชิกสามัญ
ข้อใดกล่าวผิด
1. แสดงความเห็นและซักถามเป็นหนังสือเกี่ยวกับกิจการของคุรุสภาต่อคณะกรรมการเพื่อพิจารณา
2. เลือก รับเลือกตั้ง
หรือรับแต่งตั้งเป็นกรรมการคุรุสภา หรือ คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
3. ชำระค่าธรรมเนียม
ตามประกาศของคณะกรรมการคุรุสภา (
คุรุสภา )
4. ผดุงไว้ซึ่งเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ
2197.อำนาจหน้าที่ของใคร..ดำเนินงานด้านสวัสดิการ สวัสดิภาพ
สิทธิประโยชน์เกื้อกูลอื่น และความมั่นคงของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาและผู้ปฏิบัติงานด้านการศึกษา
รวมทั้ง ส่งเสริม
สนับสนุน ยกย่อง
และผดุงเกียรติของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาและผู้ปฏิบัติงานด้านการศึกษา
1.คณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
2.คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
3.
คุรุสภา
4.คณะกรรมการคุรุสภา
2198.คณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ประกอบด้วย ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ..เป็นประธาน..และ กรรมการโดยตำแหน่ง มีดังนี้
ข้อใดไม่ถูกต้อง
1.
เลขาธิการ สภาการศึกษา เลขาธิการ..กพฐ.
2.เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
.และเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
3.
เลขาธิการ คุรุสภา และ เลขาธิการ ก.ค.ศ
4.ถูกต้องทุกข้อที่กล่าว
2199.คณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ประกอบด้วย –ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
1.ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ..เป็นประธาน
2. กรรมการโดยตำแหน่ง 6 คน
3.กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
จำนวน 3 คน ซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง
4.กรรมการที่ได้รับการเลือกตั้งจากผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา.
จำนวน 12 คน
5.หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหากรรมการผู้ทรงคุณวุฒิให้เป็นไปตามข้อบังคับของ..คณะกรรมการคุรุสภา
2200.ให้คุรุสภาเสนอรายงานประจำปีเกี่ยวกับผลการดำเนินงานด้านต่างๆ
ของคุรุสภา รวมทั้งรายงานการเงินและบัญชี ตลอดจนเสนอแผนดำเนินงาน แผนการเงิน
และงบประมาณของปีต่อไปต่อ ใคร ..เพื่อทราบ
1.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
2.
รัฐสภา
3. คณะกรรมการคุรุสภา
4. คณะรัฐมนตรี
5.กระทรวงการคลัง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น