วันศุกร์ที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

UTQ-55108 คณิต มัธยมศึกษาตอนต้น


UTQ-55108 คณิต มัธยมศึกษาตอนต้น จำนวนคำถาม : 20 ข้อ 15/20
  • จุดเน้นของการพัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียนตามแนวปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษ ที่ คุณลักษณะที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 คือข้อใด
    – อยู่อย่างพอเพียง
  • ข้อใดไม่ใช่สมรรถนะที่จำเป็นในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
    – ความสามารถในการใช้นวัตกรรม
  • ข้อใดต่อไปนี้เป็นสิ่งที่มีความสัมพันธ์กัน
    – การกำหนดกิจกรรมการเรียนรู้: การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ
  • โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP) เป็นโปรแกรมสำเร็จรูปที่มีลักษณะเด่น คือ
    – สามารถสร้างรูปเรขาคณิตสองมิติ สำรวจ และสร้างข้อคาดการณ์เกี่ยวกับสมบัติของรูปเรขาคณิตได้
  • หากวัตถุประสงค์การสอนกำหนดไว้ว่า นักเรียนมีทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์” เครื่องมือใดไม่เหมาะสมในการวัดและประเมินผลครั้งนี้
    – แบบฝึกหัด
  • การเปลี่ยนแปลงของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่แตกต่างกับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 อย่างเด่นชัดตรงกับข้อใด
    – การปรับมาตรฐานการเรียนรู้จากตัวชี้วัดรายช่วงชั้น เป็นตัวชี้วัดรายชั้นปี
  • หากวัตถุประสงค์การสอนกำหนดไว้ว่า “นักเรียนสามารถบอกนิยามความหมายของค่าสัมบูรณ์ได้อย่างถูกต้อง” เป็นระดับการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัยของบลูมขั้นใด
    – ความรู้
  • การประเมินผลการเรียนในรายวิชาต่างๆ ข้อใดกล่าวถูกต้อง
    – ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นประเมินผลการเรียนเป็นรายปี
  • ค 3.1 ม.1/2” มีความหมายตรงกับข้อใด
    – ตัวชี้วัดในสาระ เรขาคณิต มาตรฐานที่ ของระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ข้อที่ 2
  • ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับหลักการวัดและประเมินผล
    – กระบวนการวัดและประเมินผลผู้เรียนต้องครอบคลุมทั้งด้านความรู้ ทักษะกระบวนการและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
  • ข้อใดไม่ใช่หลักในการเลือกใช้สื่อการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ที่เหมาะสม
    – เลือกสื่อการเรียนรู้ประเภทสื่อเทคโนโลยีที่มีความทันสมัย
  • สื่อการเรียนรู้ในข้อใดที่ไม่อยู่ในกลุ่มเดียวกัน
    – กระดาษกราฟ
  • ข้อใดกล่าวถึงลักษณะของแผนการจัดการเรียนรู้ได้เด่นชัดที่สุด
    – เป็นสิ่งที่ช่วยผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้ที่กำหนดไว้
  • โครงสร้างการจัดเวลาเรียนขั้นต่ำในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ตรงกับข้อใด
    – เวลาเรียนในแต่ละระดับชั้นคิดเป็น หน่วยกิต ภาคเรียนละ 120 ชั่วโมง
  • ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของการวัดผล
    – การตัดสินผลการเรียนของนักเรียน
  • ข้อใดเป็นแนวทางในการใช้เทคโนโลยีสำหรับการสร้างสื่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์
    – การใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
  • ขั้นตอนการออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับมีขั้นตอนอย่างไร
    – กำหนดเป้าหมายการเรียนรู้กำหนดหลักฐานการเรียนรู้กำหนดกิจกรรมการเรียนรู้
  • การจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์มีจุดมุ่งหมายเพื่อ
    – พัฒนาทักษะและความรู้ทางวิชาการควบคู่ไปกับคุณลักษณะอันพึงประสงค์
  • กระบวนการพัฒนาความสามารถในการคิดระดับสูงของผู้เรียนสามารถพัฒนาได้ในลักษณะต่างๆ ยกเว้นข้อใดต่อไปนี้
    – การจัดการเรียนการสอนเป็นรายวิชาเฉพาะเพื่อพัฒนาความสามารถในการคิด
  • ความสามารถในการคิดไตร่ตรองเพื่อตัดสินใจเชื่อหรือกระทำในเรื่องใด เรื่องหนึ่งโดยอาศัยการสังเกต การตีความ การตั้งสมมติฐาน ในการพิจารณาความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่มี เป็นความสามารถในด้านใด
    – ความสามารถในการคิดวิจารณญาณ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น