UTQ-02106
UTQ-02106 คณิตศาสตร์ มัธยมต้น 16 คะแนน
1.
จากหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
- ก. ผลงาน/ชิ้นงาน/ภาระงาน 1 อย่าง อาจใช้เป็นหลักฐานที่เป็นผลการเรียนรู้ของหลายเป้าหมาย
- ข. ครูสามารถนำหลักฐานที่เป็นผลการเรียนรู้มาใช้เป็นหลักในการออกแบบการจัดการเรียนรู้
- ค. เป้าหมายของหน่วยการเรียนรู้คือ มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู้
- x หน่วยการเรียนรู้ช่วยให้ครูมองเห็นภาพรวมของรายวิชาอย่างชัดเจน
2.
สื่อข้อใดช่วยทำให้การเรียนคณิตศาสตร์สนุกสนานมีชีวิตชีวาได้ดีที่สุด
- xเพลง
- ข. เครื่องบันทึกเสียง
- ค. เอกสารประกอบการเรียนการสอน
- ง. บทเรียนโปรแกรมหรือบทเรียนสำเร็จรูป
3.
เครื่องมือวัดผลทางคณิตศาสตร์ในข้อใดไม่จำเป็นต้องมีเกณฑ์แบบรูบริค
- ก. แบบประเมินพฤติกรรมกลุ่ม
- xข้อสอบแบบเลือกตอบ
- ค. แผนผังความคิด
- ง. โครงงาน
4.
ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบสำคัญของโครงสร้างรายวิชา
- ก. ชื่อหน่วยการเรียนรู้
- x ชิ้นงาน/ภาระงาน
- ค. เวลาเรียน
- ง. ตัวชี้วัด
5.
ครูมนัสกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนผลงานของนักเรียน
เรื่องแผนผังและมาตราส่วน ดังนี้
1. มีแผนผังแสดงรายละเอียดครบถ้วน แต่มาตราส่วนไม่ถูกต้อง
2. มีแผนผังแสดงรายละเอียดไม่ครบถ้วน แต่ใช้มาตราส่วนถูกต้อง
3. มีแผนผังแสดงรายละเอียดได้ครบถ้วน และใช้มาตราส่วนถูกต้อง
4. มีแผนผังแสดงรายละเอียดไม่ครบถ้วน และมาตราส่วนไม่ถูกต้อง
จากข้อมูลด้านบนข้อใดเรียงลำดับคุณภาพของผลงานจากระดับสูงสุดลงมาถึงระดับต่ำสุดได้เหมาะสม
1. มีแผนผังแสดงรายละเอียดครบถ้วน แต่มาตราส่วนไม่ถูกต้อง
2. มีแผนผังแสดงรายละเอียดไม่ครบถ้วน แต่ใช้มาตราส่วนถูกต้อง
3. มีแผนผังแสดงรายละเอียดได้ครบถ้วน และใช้มาตราส่วนถูกต้อง
4. มีแผนผังแสดงรายละเอียดไม่ครบถ้วน และมาตราส่วนไม่ถูกต้อง
จากข้อมูลด้านบนข้อใดเรียงลำดับคุณภาพของผลงานจากระดับสูงสุดลงมาถึงระดับต่ำสุดได้เหมาะสม
- x. 3, 2, 1, 4
- ข. 3, 2, 4, 1
- ค. 3, 1, 2, 4
- ง. 3, 1, 4, 2
6.
บทบาทคุณครูในการส่งเสริมให้นักเรียนสำรวจค้นหาวิธีการแก้ปัญหา/เสนอแนวทาง
แก้ปัญหาด้วยตนเองโดยตั้งคำถาม เพื่อนำไปสู่การคิดวิเคราะห์จากสื่อรูปธรรม/กึ่งรูปธรรมตรงกับรูปแบบการ
จัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบใด
- ก. รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ (5Es)
- ข. รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบร่วมมือกันเรียนรู้ เทคนิค STAD
- ค. รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดทฤษฏีคอนสตรัคติวิสต์
- x รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบ ซิปปา( Cippa Model)
7.
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กำหนดให้ใช้อะไรกำหนดคุณภาพของผู้เรียน ในรายวิชาพื้นฐาน และในรายวิชาเพิ่มเติมตาลำดับ
- ก. จุดประสงค์การเรียนรู้ , ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
- ข. ผลการเรียนรู้ , จุดประสงค์การเรียนรู้
- x. ตัวชี้วัด , ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
- ง. ตัวชี้วัด , จุดประสงค์การเรียนรู้
8.
ในการออกแบบหน่วยการเรียนรู้
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ข้อใดอยู่ในขั้นกำหนดเป้าหมายการเรียนรู้
- x สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
- ข. การวัดและประเมินผล
- ค. กิจกรรมการเรียนรู้
- ง. ชิ้นงาน/ภาระงาน
9.
“วิธีการจัดการเรียนรู้แบบนิรนัย ไม่เหมาะสมกับการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์”จากข้อความข้างต้น ท่านมีแนวคิดตรงกับข้อใด
- ก. ไม่เห็นด้วย ควรนำข้อดี/ข้อจำกัดของวิธีการจัดการเรียนรู้แต่ละแบบมาใช้ให้เป็นประโยชน์
- ข. ไม่เห็นด้วย ควรใช้วิธีการจัดการเรียนรู้หลากหลายตามความนิยม
- ค. เห็นด้วย เนื่องจากคณิตศาสตร์เป็นสาระการเรียนรู้ที่ยาก
- x เห็นด้วย เพราะ เป็นวิธีการจัดการเรียนรู้ที่เป็นนามธรรม
10.
ข้อใดเป็นการพัฒนาความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ของนักเรียนได้ดีที่สุด
- ก. การทำแบบฝึกทักษะ
- ข. การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา
- x. การตอบปัญหาปลายเปิด
- ง. การคำนวณความสูงของต้นไม้
11.
ครูอัญชลีสังเกตกระบวนการปฎิบัติงานทางคณิตศาสตร์ของนักเรียน
4 กลุ่ม
โดยใช้เกณฑ์การให้คะแนนกระบวนการการปฎิบัติงาน
ได้ผลดังนี้
ข้อใดกล่าวถูกต้อง
- ก. นักเรียนกลุ่มที่ 1 ได้คะแนนรวมน้อยที่สุด
- x. นักเรียนกลุ่มที่ 1 และ กลุ่มที่ 2 ได้คะแนนรวมเท่ากัน
- ค. นักเรียนกลุ่มที่ 3 และ กลุ่มที่ 4 ได้ระดับดีมาก
- ง. นักเรียนทุกกลุ่มผ่านเกณฑ์การประเมินระดับดีขึ้นไป
12.
การพัฒนาทักษะการคิดของนักเรียนควรเริ่มต้นจากการวิเคราะห์ในข้อใด
- x. ตัวชี้วัด
- ข. สาระการเรียนรู้
- ค. ความคิดรวบยอด
- ง. ชิ้นงาน/ภาระงาน
13.
ถ้าครูต้องการฝึกให้ผู้เรียนเผชิญปัญหา วิเคราะห์ และสังเคราะห์
และ หาแนวทางแก้ปัญหาด้วยตนเอง ควรใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบใด
- ก. รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ (5Es)
- ข. รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบร่วมมือกันเรียนรู้ เทคนิค STAD
- x. รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดทฤษฏีคอนสตรัคติวิสต์
- ง. รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบ ซิปปา( Cippa Model)
14.
ข้อใดสำคัญที่สุดเกี่ยวกับการประเมินผลก่อนเรียน
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551
- xเพื่อวิเคราะห์ว่าผู้เรียนรู้อะไรมาก่อนบ้างเกี่ยวกับสิ่งที่จะเรียนและสิ่งที่รู้มาก่อนนี้ถูกต้องหรือไม่
- ข. เพื่อตรวจสอบความรู้ ทักษะพื้นฐานและความพร้อมด้านต่าง ๆ ของผู้เรียนแต่ละคน
- ค. เพื่อหาวิธีซ่อมเสริม หรือพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีความรู้พื้นฐานและมีความพร้อม
- ง. วิธีการประเมินใช้แบบทดสอบค้นหาจุดเด่นหรือจุดด้อยของนักเรียน
15.
ข้อใดเป็นการคิดขั้นสูงสุด
- ก. ทักษะการสื่อความหมาย
- x กระบวนการคิด
- ค. ลักษณะการคิด
- ง. ทักษะการคิด
16.
ตัวชี้วัด “ ค 4.2 ม.1/3
” กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ มีความหมายตรงกับข้อใด
- ก. สาระที่ 4 มาตรฐานข้อที่ 1 ตัวชี้วัดชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ข้อที่ 2
- x สาระที่ 4 มาตรฐานข้อที่ 2 ตัวชี้วัดชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ข้อที่ 3
- ค. สาระที่ 2 มาตรฐานข้อที่ 1 ตัวชี้วัดชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ข้อที่ 4
- ง. สาระที่ 2 มาตรฐานข้อที่ 4 ตัวชี้วัดชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ข้อที่ 3
17.
"ครูกุลธิดาจะจัดการเรียนรู้เรื่อง สมการ โดยจะเลือกเพลงมาใช้ในขั้นนำและขั้นสรุปของกิจกรรม"ท่่านจะแนะนำแนวทางการ
เลือกเพลงอย่างไร
- ก. ใช้เพลงเดียวกันเกี่ยวกับสมการทั้งในขั้นนำและขั้นสรุป
- ข. เลือกเพลงทั่วไปที่เหมาะสมกับวัยของนักเรียนในชั้นนั้น
- xเพลงเกี่ยวกับการดำเนินการของจำนวนในขั้นนำและใช้เพลงเกี่ยวกับสมการในขั้นสรุป
- ง. ขั้นนำใช้เพลงที่นิยมในกลุ่มนักเรียนเพื่อกระตุ้นให้สนใจสาระการเรียนรู้ในชั่วโมงนั้น
18.
การใช้สื่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์ข้อต่อไปนี้เหมาะสม ยกเว้นข้อใด
- ก. ครูปัญญาใช้บทเรียนแบบกิจกรรมเพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ทำการทดลอง ศึกษาและสำรวจ เพื่อนำไปสู่ข้อค้นพบหรือข้อสรุป
- ข. ครูอัญชลีใช้สื่อสิ่งแวดล้อมโดยให้นำความรู้เรื่องความคล้ายไปใช้แก้ปัญหาเกี่ยวกับระยะทางและความสูงของสิ่งต่าง ๆ ในโรงเรียน
- ค. ครูสุกัญญาใช้สื่อวิธีการช่วยสร้างบรรยากาศในการเรียนทำให้นักเรียนมีความสุขในการเรียน
- x ครูคณิตนำเอกสารแนะแนวทางไปใช้ทบทวนและใช้สอนซ่อมเสริมนักเรียน
19.
ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการให้คะแนนโดยใช้เกณฑ์แบบรูบริคในการเรียนการสอนคณิตศาสตร์
- ก. เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริคสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม
- x. การให้คะแนนแบบวิเคราะห์มักนำมาใช้ในการประเมินผลเพื่อตัดสินหรือสรุปผล การเรียนของนักเรียน
- ค. การประเมินผลทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ อาจใช้การให้คะแนนแบบวิเคราะห์ หรือการให้คะแนนแบบองค์รวมก็ได้
- ง. การให้คะแนนแบบรูบริคเป็นเครื่องมือช่วยให้นักเรียนประเมินผลระดับความสามารถด้านคณิตศาสตร์ตนเอง แล้วนำผลที่ได้มาปรับปรุง
20.
ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้นั้นควรคำนึงถึงสิ่งใดเป็นลำดับแรก
- ก. รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
- ข. ความพร้อมของผู้เรียน
- ค. ระดับชั้นของผู้เรียน
- x สาระการเรียนรู้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น