วันศุกร์ที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

UTQ-02107

utq-02107 คณิต มปลาย    16 คะแนน
จำนวนคำถาม : 20 ข้อ  

1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 กำหนดให้รายวิชาพื้นฐานต้องใช้ตัวชี้วัดกำหนดคุณภาพของผู้เรียนและกำหนดให้ รายวิชาเพิ่มเติมต้องใช้อะไรกำหนดคุณภาพของผู้เรียน
xง. ผลการเรียนรู้
2. จากหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แบ่งเป็น 3 ลักษณะ มีอะไรบ้าง
x ง. กิจกรรมแนะแนวกิจกรรมนักเรียน กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
3. ตัวชี้วัดชั้นปี เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนในระดับใด
x ง. ระดับการศึกษาภาคบังคับ
4. บทบาทของผู้สอนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ผู้สอนต้องดำเนินการขั้นตอนใดเป็นอันดับแรก
xง. ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล
5. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของโครงสร้างรายวิชา
x ง. ชิ้นงาน
6.การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์จำเป็นต้องใช้สื่อการเรียนรู้ประกอบ ท่านมีแนวคิดในการเลือกใช้สื่อการเรียนรู้อย่างไร
xค. หาได้ง่ายในท้องถิ่น/สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้
7. ถ้าครูต้องการฝึกให้ผู้เรียนเผชิญปัญหา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ และ หาแนวทางแก้ปัญหาด้วยตนเอง ควรใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบใด
xง. รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดทฤษฏีคอนสตรัคติวิสต์
8.บทบาทคุณครูในการส่งเสริมให้นักเรียนสำรวจค้นหาวิธีการแก้ปัญหา/เสนอแนว ทางแก้ปัญหาด้วยตนเองโดยตั้งคำถาม เพื่อนำไปสู่การคิดวิเคราะห์จากสื่อรูปธรรม/กึ่งรูปธรรมตรงกับรูปแบบการ จัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบใด
xก. รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดทฤษฏีคอนสตรัคติวิสต์
9. จากการศึกษารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ในใบความรู้ข้อใดคือจุดเน้นที่แตกต่างกัน
x ก. เน้นทักษะกระบวนการคิด การอภิปราย การให้เหตุผล
10. ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้นั้นควรคำนึงถึงสิ่งใดเป็นลำดับแรก
x ก. สาระการเรียนรู้
11. การเขียนสาระสำคัญในหน่วยการเรียนรู้ ต้องสัมพันธ์กับสิ่งใดต่อไปนี้
x ข. มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
12. ข้อใดที่ผู้สอนยอมรับในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
xค. ความคิดสร้างสรรค์เป็นพรสวรรค์ของคน
13. ถ้าครูต้องการฝึกให้ผู้เรียนเผชิญปัญหา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ และ หาแนวทางแก้ปัญหาด้วยตนเอง ควรใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบใด
x ค. รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดทฤษฏีคอนสตรัคติวิสต์
14. บทบาทคุณครูในการส่งเสริมให้นักเรียนสำรวจค้นหาวิธีการแก้ปัญหา/เสนอแนวทาง แก้ปัญหาด้วยตนเองโดยตั้งคำถาม เพื่อนำไปสู่การคิดวิเคราะห์จากสื่อรูปธรรม/กึ่งรูปธรรมตรงกับรูปแบบการ จัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบใด
xง. รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้(5Es)
15.หลักการการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตร 2551 คือข้อใด
xข. ถูกทั้ง ก และ ข
16.ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551ระดับผลการเรียนระบบตัวเลข กำหนดกี่ระดับ
x ก. 8 ระดับ
17.เครื่องมือวัดผลทางคณิตศาสตร์ในข้อใดไม่จำเป็นต้องมีเกณฑ์แบบรูบริค
xก. ข้อสอบแบบเลือกตอบ
18. ข้อใดไม่ใช่ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
xข. ความสามารถในการวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
19. การวัดและประเมินผลด้านทักษะและกระบวนการ ควรใช้วิธีการในข้อใดมากที่สุด
xข. การปฏิบัติ
20.
การใช้คำตอบของผู้เรียนเป็นข้อมูลด้านความรู้ความเข้าใจในทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์สอดคล้องกับหลักการวัดและประเมินผลในข้อใด
x ค. ประเมินผลควบคู่ไปกับกระบวนการเรียนการสอน

1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 กำหนดให้รายวิชาพื้นฐานต้องใช้ตัวชี้วัดกำหนดคุณภาพของผู้เรียนและกำหนดให้ รายวิชาเพิ่มเติมต้องใช้อะไรกำหนดคุณภาพของผู้เรียน
  • ก. ตัวชี้วัด
  • ข. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายปี/รายภาค
  • ค. ผลการเรียนรู้
  • ง. จุดประสงค์
2. จากหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แบ่งเป็น 3 ลักษณะ มีอะไรบ้าง
  • ก. กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน กิจกรรมดูแลช่วยเหลือนักเรียน
  • ข. กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด
  • ค. กิจกรรมแนะแนวกิจกรรมนักเรียน กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
  • ง. กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม
3. ตัวชี้วัดชั้นปี เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนในระดับใด
  • ก. ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • ข. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
  • ค. ระดับการศึกษาภาคบังคับ
  • ง. ระดับประถม
4. บทบาทของผู้สอนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ผู้สอนต้องดำเนินการขั้นตอนใดเป็นอันดับแรก
  • ก. วิเคราะห์ผลการประเมินมาใช้ในการซ่อมเสริมและพัฒนาผู้เรียน
  • ข. ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล
  • ค. กำหนดเป้าหมายที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน
  • ง. ประเมินความก้าวหน้าของผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย
5. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของโครงสร้างรายวิชา
  • ก. ตัวชี้วัด
  • ข. ชื่อหน่วยการเรียนรู้
  • ค. เวลาเรียน
  • ง. ชิ้นงาน
6.
การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์จำเป็นต้องใช้สื่อการเรียนรู้ประกอบ ท่านมีแนวคิดในการเลือกใช้สื่อการเรียนรู้อย่างไร 
  • ก. หาได้ง่ายในท้องถิ่น/สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้
  • ข. มีสีสันสวยงาม/ดึงดูดความสนใจ
  • ค. ราคาถูก/หาได้ง่ายในท้องถิ่น
  • ง. สำเร็จรูป/ทันสมัย/ดึงดูดความสนใจ
7. ถ้าครูต้องการฝึกให้ผู้เรียนเผชิญปัญหา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ และ หาแนวทางแก้ปัญหาด้วยตนเอง ควรใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบใด
  • ก. รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบ ซิปปา( Cippa Model)
  • ข. รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบร่วมมือกันเรียนรู้ เทคนิค STAD
  • ค. รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้(5Es)
  • ง. รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดทฤษฏีคอนสตรัคติวิสต์
8.
บทบาทคุณครูในการส่งเสริม ให้นักเรียนสำรวจ ค้นหาวิธีการแก้ปัญหา/เสนอแนวทางแก้ปัญหาด้วยตนเองโดยตั้งคำถาม เพื่อนำไปสู่การคิดวิเคราะห์จากสื่อรูปธรรม/กึ่งรูปธรรมตรงกับรูปแบบการ จัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบใด 
  • ก. รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบ ซิปปา( Cippa Model)
  • ข. รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบร่วมมือกันเรียนรู้ เทคนิค STAD
  • ค. รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดทฤษฏีคอนสตรัคติวิสต์
  • ง. รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้(5Es)
9. จากการศึกษารูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ในใบความรู้ข้อใดคือจุดเน้นที่แตกต่างกัน
  • ก. เน้นทักษะกระบวนการคิด การอภิปราย การให้เหตุผล
  • ข. ทบทวนความรู้เดิมที่จำเป็น
  • ค. จุดมุ่งหมายในการแก้ปัญหาพฤติกรรมผู้เรียน
  • ง. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้มีโอกาสทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม
10. ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้นั้นควรคำนึงถึงสิ่งใดเป็นลำดับแรก
  • ก. ระดับชั้นของผู้เรียน
  • ข. สาระการเรียนรู้
  • ค. ความพร้อมของผู้เรียน
  • ง. รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
11. การเขียนสาระสำคัญในหน่วยการเรียนรู้ ต้องสัมพันธ์กับสิ่งใดต่อไปนี้
  • ก. สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ตัวชี้วัด
  • ข. มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด กิจกรรมการเรียน
  • ค. สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียน ตัวชี้วัด
  • ง. มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
12. ข้อใดที่ผู้สอนยอมรับในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
  • ก. ความคิดสร้างสรรค์มีในทุกคน
  • ข. ความคิดสร้างสรรค์มีเฉพาะคน
  • ค. ความคิดสร้างสรรค์เป็นพรสวรรค์ของคน
  • ง. ความคิดสร้างสรรค์เป็นสิ่งที่พัฒนาได้
13. ถ้าครูต้องการฝึกให้ผู้เรียนเผชิญปัญหา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ และ หาแนวทางแก้ปัญหาด้วยตนเอง ควรใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบใด
  • ก. รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดทฤษฏีคอนสตรัคติวิสต์
  • ข. รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบ ซิปปา( Cippa Model)
  • ค. รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบร่วมมือกันเรียนรู้ เทคนิค STAD
  • ง. รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้(5Es)
14. บทบาทคุณครูในการส่งเสริมให้นักเรียนสำรวจค้นหาวิธีการแก้ปัญหา/เสนอแนวทาง แก้ปัญหาด้วยตนเองโดยตั้งคำถาม เพื่อนำไปสู่การคิดวิเคราะห์จากสื่อรูปธรรม/กึ่งรูปธรรมตรงกับรูปแบบการ จัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบใด
  • ก. รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดทฤษฏีคอนสตรัคติวิสต์
  • ข. รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบร่วมมือกันเรียนรู้ เทคนิค STAD
  • ค. รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้(5Es)
  • ง. รูปแบบการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบ ซิปปา( Cippa Model)
15.
หลักการการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตร 2551 คือข้อใด
  • ก. เพื่อตัดสินผลการเรียน
  • ข. เพื่อพัฒนาผู้เรียน
  • ค. เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้
  • ง. ถูกทั้ง ก และ ข
16.
ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551ระดับผลการเรียนระบบตัวเลข กำหนดกี่ระดับ
  • ก. 6 ระดับ
  • ข. 7 ระดับ
  • ค. 8 ระดับ
  • ง. 5 ระดับ
17.
เครื่องมือวัดผลทางคณิตศาสตร์ในข้อใดไม่จำเป็นต้องมีเกณฑ์แบบรูบริค
  • ก. แผนผังความคิด
  • ข. แบบประเมินพฤติกรรมกลุ่ม
  • ค. ข้อสอบแบบเลือกตอบ
  • ง. โครงงาน
18. ข้อใดไม่ใช่ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
  • ก. ความสามารถในการสื่อสารสื่อ/ความหมายทางคณิตศาสตร์
  • ข. ความสามารถในการวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
  • ค. ความสามารถในการคิดและการแก้ปัญหา
  • ง. ความสามารถในการคิดและให้เหตุผล
19. การวัดและประเมินผลด้านทักษะและกระบวนการ ควรใช้วิธีการในข้อใดมากที่สุด
  • ก. การปฏิบัติ
  • ข. การทดสอบ
  • ค. การสัมภาษณ์
  • ง. การสังเกต
20.
การใช้คำตอบของผู้เรียนเป็นข้อมูลด้านความรู้ความเข้าใจในทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์สอดคล้องกับหลักการวัดและประเมินผลในข้อใด
  • ก. ประเมินผลส่งเสริมผู้เรียนให้มี การปรับปรุงความสามารถตนเอง
  • ข. ประเมินผลนำไปสู่ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับข้อมูลรอบด้าน
  • ค. ประเมินผลสอดคล้องกับจุดประสงค์และเป้าหมายการเรียนรู้
  • ง. ประเมินผลควบคู่ไปกับกระบวนการเรียนการสอน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น