UTQ-02110
UTQ-02110 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
สำหรับผู้สอนระดับประถมศึกษา ผ่านแล้ว ได้ 15 คะแนน
1. ข้อใดเป็นผลการเรียนรู้ภาษาไทยที่มีคุณภาพสูงที่สุดและเชื่อถือได้ ก. อ่านออก เขียนถูก รู้ความหมาย ใช้เป็น ç
2. ระดับความสามารถในการอ่านของผู้เรียนขั้นใดที่ผู้อ่านรับคุณค่าของการอ่านได้ทันที ค. อ่านรู้เรื่องเข้าใจเรื่องที่อ่าน ç
3. ข้อใดเป็นกระบวนการใช้ทักษะการคิดขั้นวิเคราะห์ ก. อ่านข่าวแล้วสนทนาวิพากษ์วิจารณ์ข่าว ç
4. ข้อใดเป็นคุณค่าของการรวบรวมข้อคิดคำคมจากวรรณคดีวรรณกรรม ง. รับการถ่ายทอดค่านิยมและประเพณี ç
5. ลักษณะสำคัญของการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนาพหุปัญญาของผู้เรียน สอดคล้องกับข้อใด ก. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นส่งเสริมข้อบกพร่องของผู้เรียน ç
6. การใช้หนังสือแบบเรียนและแบบฝึกหัดสำเร็จรูปเพียงอย่างเดียว ส่งผลเสียต่อคุณภาพของผู้เรียนด้านใดมากที่สุด ค. ไม่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีอิสระทางความคิด ç
7. ข้อใดเป็นการจัดบทเรียนบูรณาการแบบคู่ขนาน ข. ครูร่วมกันวางแผนสอนเรื่องเดียวกัน แล้วต่างจัดกิจกรรมในวิชาที่ตนสอน ç
8. ข้อใดเป็นปัญหาของทักษะภาษาไทยที่ส่งผลต่อคะแนนผลสอบ O-Net มากที่สุด ก. ความสามารถในการอ่านตีความ ç
9. การจัดการเรียนรู้ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนด้านการอ่านคิดวิเคราะห์ คือข้อใด ง. การอ่านเพื่อค้นหาสาระสำคัญและการสรุปเรื่องที่อ่าน ç
10. การตรวจสอบคุณภาพของผู้เรียนเกิดจากกระบวนการในขั้นใด ค. ขั้นที่ครูจัดกิจกรรมและสะท้อนผลให้ผู้เรียนได้ทำหลายๆแบบ ç
11. ครูคนใดที่จัดการเรียนการสอนได้สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคลมากที่สุด ก. ให้ผู้เรียนเลือกทำกิจกรรมที่สอดคล้องกับบทเรียนตามความสนใจ ç
12. ข้อใดเป็น "กระบวนการเรียนรู้" ที่พัฒนาผู้เรียนด้านทักษะการคิดมากที่สุด ง. อ่านเรื่อง คิดวิเคราะห์ สรุปเรื่อง ค้นหาข้อคิดและสำนวนภาษาที่น่าสนใจ ç
13. ข้อใดเป็นเหตุผลแสดงความอ่อนด้อยสมรรถนะของบุคคลด้านการแก้ปัญหามากที่สุด" ข. กินยาที่หมอพระผลิต / ยาผีบอกเพื่อรักษาโรค ç
14. การช่วยผู้เรียนให้ประสบผลสำเร็จในการเรียนได้มากที่สุด ข้อใดที่ครูส่วนใหญ่ละเลย ง. ครูวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลและนำผลมาออกแบบการเรียนรู้ ç
15. กิจกรรมใดที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะภาษาและกระบวนการกลุ่มได้มากที่สุด ข. การแสดงละครหรือเล่นบทบาทสมมติ ç
16. ผลของการอ่านขั้นใดที่แสดงให้เห็นว่าผู้อ่านเข้าใจเรื่องที่อ่าน ข. สื่อความหมายรหัสภาษาและแสดงอาการตอบโต้ ç
17. อะไรคือปัญหาที่ทำให้เด็กไทยไม่ชอบเขียนเรียงความ ก. ไม่มีข้อมูลในการเขียน ç
18. ตัวชี้วัดในการเขียนข้อใดเป็นตัวชี้วัดในระดับชั้นเรียนที่ต่ำที่สุด ค. เขียนสื่อสาร ç
19. ครูให้นักเรียนหาคำมาต่อจากคำว่า "กระ" เช่นกระจาด กระท้อน กระต่าย ฯลฯ แล้วทำกิจกรรมสำรวจว่า ใครมีคำที่ไม่ซ้ำกับคนอื่นมากที่สุด ครูกำลังฝึกทักษะการคิดด้านใดให้กับผู้เรียน ก. คิดคล่อง ç
20. ถ้าผลการประเมินผลความสามารถของผู้เรียนในการอ่านคิดวิเคราะห์เขียนสูง สะท้อนให้เห็นสภาพของสถานศึกษาว่าน่าจะมีสิ่งใดมากที่สุด ง. มีการสอดแทรกทักษะการอ่านคิดเขียนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ç
1. การใช้หนังสือแบบเรียนและแบบฝึกหัดสำเร็จรูปเพียงอย่างเดียว ส่งผลเสียต่อคุณภาพของผู้เรียนด้านใดมากที่สุ
1. ข้อใดเป็นผลการเรียนรู้ภาษาไทยที่มีคุณภาพสูงที่สุดและเชื่อถือได้ ก. อ่านออก เขียนถูก รู้ความหมาย ใช้เป็น ç
2. ระดับความสามารถในการอ่านของผู้เรียนขั้นใดที่ผู้อ่านรับคุณค่าของการอ่านได้ทันที ค. อ่านรู้เรื่องเข้าใจเรื่องที่อ่าน ç
3. ข้อใดเป็นกระบวนการใช้ทักษะการคิดขั้นวิเคราะห์ ก. อ่านข่าวแล้วสนทนาวิพากษ์วิจารณ์ข่าว ç
4. ข้อใดเป็นคุณค่าของการรวบรวมข้อคิดคำคมจากวรรณคดีวรรณกรรม ง. รับการถ่ายทอดค่านิยมและประเพณี ç
5. ลักษณะสำคัญของการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนาพหุปัญญาของผู้เรียน สอดคล้องกับข้อใด ก. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นส่งเสริมข้อบกพร่องของผู้เรียน ç
6. การใช้หนังสือแบบเรียนและแบบฝึกหัดสำเร็จรูปเพียงอย่างเดียว ส่งผลเสียต่อคุณภาพของผู้เรียนด้านใดมากที่สุด ค. ไม่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีอิสระทางความคิด ç
7. ข้อใดเป็นการจัดบทเรียนบูรณาการแบบคู่ขนาน ข. ครูร่วมกันวางแผนสอนเรื่องเดียวกัน แล้วต่างจัดกิจกรรมในวิชาที่ตนสอน ç
8. ข้อใดเป็นปัญหาของทักษะภาษาไทยที่ส่งผลต่อคะแนนผลสอบ O-Net มากที่สุด ก. ความสามารถในการอ่านตีความ ç
9. การจัดการเรียนรู้ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนด้านการอ่านคิดวิเคราะห์ คือข้อใด ง. การอ่านเพื่อค้นหาสาระสำคัญและการสรุปเรื่องที่อ่าน ç
10. การตรวจสอบคุณภาพของผู้เรียนเกิดจากกระบวนการในขั้นใด ค. ขั้นที่ครูจัดกิจกรรมและสะท้อนผลให้ผู้เรียนได้ทำหลายๆแบบ ç
11. ครูคนใดที่จัดการเรียนการสอนได้สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคลมากที่สุด ก. ให้ผู้เรียนเลือกทำกิจกรรมที่สอดคล้องกับบทเรียนตามความสนใจ ç
12. ข้อใดเป็น "กระบวนการเรียนรู้" ที่พัฒนาผู้เรียนด้านทักษะการคิดมากที่สุด ง. อ่านเรื่อง คิดวิเคราะห์ สรุปเรื่อง ค้นหาข้อคิดและสำนวนภาษาที่น่าสนใจ ç
13. ข้อใดเป็นเหตุผลแสดงความอ่อนด้อยสมรรถนะของบุคคลด้านการแก้ปัญหามากที่สุด" ข. กินยาที่หมอพระผลิต / ยาผีบอกเพื่อรักษาโรค ç
14. การช่วยผู้เรียนให้ประสบผลสำเร็จในการเรียนได้มากที่สุด ข้อใดที่ครูส่วนใหญ่ละเลย ง. ครูวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลและนำผลมาออกแบบการเรียนรู้ ç
15. กิจกรรมใดที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะภาษาและกระบวนการกลุ่มได้มากที่สุด ข. การแสดงละครหรือเล่นบทบาทสมมติ ç
16. ผลของการอ่านขั้นใดที่แสดงให้เห็นว่าผู้อ่านเข้าใจเรื่องที่อ่าน ข. สื่อความหมายรหัสภาษาและแสดงอาการตอบโต้ ç
17. อะไรคือปัญหาที่ทำให้เด็กไทยไม่ชอบเขียนเรียงความ ก. ไม่มีข้อมูลในการเขียน ç
18. ตัวชี้วัดในการเขียนข้อใดเป็นตัวชี้วัดในระดับชั้นเรียนที่ต่ำที่สุด ค. เขียนสื่อสาร ç
19. ครูให้นักเรียนหาคำมาต่อจากคำว่า "กระ" เช่นกระจาด กระท้อน กระต่าย ฯลฯ แล้วทำกิจกรรมสำรวจว่า ใครมีคำที่ไม่ซ้ำกับคนอื่นมากที่สุด ครูกำลังฝึกทักษะการคิดด้านใดให้กับผู้เรียน ก. คิดคล่อง ç
20. ถ้าผลการประเมินผลความสามารถของผู้เรียนในการอ่านคิดวิเคราะห์เขียนสูง สะท้อนให้เห็นสภาพของสถานศึกษาว่าน่าจะมีสิ่งใดมากที่สุด ง. มีการสอดแทรกทักษะการอ่านคิดเขียนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ç
1. การใช้หนังสือแบบเรียนและแบบฝึกหัดสำเร็จรูปเพียงอย่างเดียว ส่งผลเสียต่อคุณภาพของผู้เรียนด้านใดมากที่สุ
- ก. นักเรียนเบื่อเพราะลักษณะงานที่ทำซ้ำๆกัน
- ข. แบบฝึกหัดสำเร็จรูปไม่ครอบคลุมตัวชี้วัด
- ค. ไม่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีอิสระทางความคิด
- ง. ไม่สามารถจำแนกความสามารถของผู้เรียนได้
- ก. อ่านข่าวแล้วสนทนาวิพากษ์วิจารณ์ข่าว
- ข. ค้นหาความหมายของคำศัพท์จากพจนานุกรม
- ค. สัมภาษณ์จดบันทึกผลนำเสนอและเขียนรายงาน
- ง. ฟังนิทานเล่าเรื่องย้อนกลับทำแบบฝึกหัดในใบงาน
- ก. ความสามารถในการอ่านตีความ
- ข. ความสามารถในการเขียนสะกดคำ
- ค. ความสามารถในการสื่อสารข้อมูล
- ง. ความสามารถในการเข้าใจหลักการใช้ภาษา
- ก. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นส่งเสริมข้อบกพร่องของผู้เรียน
- ข. จัดบทเรียนและกิจกรรมเป็นหน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ
- ค. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้เต็มศักยภาพ
- ง. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้หลากหลายเพื่อให้ผู้เรียนเลือกตามความสนใจ
- ก. ตาสัมผัสกับตัวอักษรและรับรู้คำ-ข้อความที่เห็น
- ข. สื่อความหมายรหัสภาษาและแสดงอาการตอบโต้
- ค. นำผลการอ่านไปปฏิบัติและรายงานผลได้
- ง. เล่าเรื่องได้ตามลำดับและวิจารณ์เรื่องได้
- ก. อ่านออก เขียนถูก รู้ความหมาย ใช้เป็น
- ข. นักเรียนใช้ภาษาเป็นเครื่องมือสื่อสารได้ดี
- ค. มีผลการเรียนผ่านตัวชี้วัดร้อยละ 70 ขึ้นไป
- ง. ผลสอบ O-NET ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยร้อยละ 60
- ก. ไม่มีข้อมูลในการเขียน
- ข. เขียนสะกดคำยากๆไม่ได้
- ค. จัดระบบข้อมูลสู่การเขียนไม่ได้
- ง. ไม่สามารถใช้คำในระดับภาษาเขียนได้
- ก. การเล่นเกมแข่งขันตอบคำถามเป็นทีม
- ข. การแสดงละครหรือเล่นบทบาทสมมติ
- ค. การเขียนแผนภาพโครงเรื่องและนำเสนอ
- ง. การทำสมุดรวบรวมคำศัพท์ คำคมที่น่าสนใจ
- ก. ขั้นที่ครูกำหนดเป้าหมายของการเรียนรู้ในแต่ละครั้งที่สอน
- ข. ขั้นที่ครูจัดระบบการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาสูงสุด
- ค. ขั้นที่ครูจัดกิจกรรมและสะท้อนผลให้ผู้เรียนได้ทำหลายๆแบบ
- ง. ขั้นที่ครูเลือกกิจกรรมที่สร้างประสบการณ์ที่เหนือความคาดหมาย
- ก. ครูจัดการเรียนรู้ตามตัวชี้วัดของหลักสูตรได้ครบถ้วน
- ข. ครูเตรียมบทเรียน สื่อและแหล่งเรียนรู้ได้สมบูรณ์ที่สุด
- ค. ครูจัดบรรยากาศและออกแบบการเรียนรู้ได้สนุกและน่าสนใจ
- ง. ครูวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลและนำผลมาออกแบบการเรียนรู้
- ก. ครูร่วมกันเป็นคณะเพื่อวางแผน สอนและประเมินผลผู้เรียนกลุ่มเดียวกัน
- ข. ครูร่วมกันวางแผนสอนเรื่องเดียวกัน แล้วต่างจัดกิจกรรมในวิชาที่ตนสอน
- ค. ครูวางแผนการเรียนรู้ร่วมกัน จัดกิจกรรมการเรียนรู้และประเมินผลร่วมกัน
- ง. ครูร่วมกันวางแผนออกแบบกิจกรรม แล้วต่างประเมินผลในรายวิชาที่ตนสอน
- ก. การอ่านเป็นคำเป็นประโยคแลพทำความเข้าใจเรื่อง
- ข. การสอนแบบสะกดคำ แจกลูกและค้นหาความหมาย
- ค. การอธิบายความหมายของคำด้วยภาพและรูปประโยค
- ง. การอ่านเพื่อค้นหาสาระสำคัญและการสรุปเรื่องที่อ่าน
- ก. อ่านเชิงสังเคราะห์
- ข. อ่านถูกต้องตามอักขรวิธี
- ค. อ่านรู้เรื่องเข้าใจเรื่องที่อ่าน
- ง. การประยุกต์ความรู้เพื่อใช้ประโยชน์
- ก. ลงนามในสัญญากู้เงินโดยไม่อ่านสัญญา
- ข. กินยาที่หมอพระผลิต / ยาผีบอกเพื่อรักษาโรค
- ค. กราบไหว้จิ้งจก 2 หัว / กล้วยออกปลีกลางต้น ฯลฯ
- ง. โอนเงินให้ผู้ที่โทรศัพท์มาบอกข้อมูลที่คิดว่าเราจะได้ประโยชน์
- ก. ได้เรียนรู้เรื่องราวในอดีต
- ข. ซึมซับคุณค่าด้านภูมิปัญญา
- ค. ซาบซึ้งในความงดงามทางภาษา
- ง. รับการถ่ายทอดค่านิยมและประเพณี
- ก. เขียนอธิบาย
- ข. เขียนเล่าเรื่อง
- ค. เขียนสื่อสาร
- ง. เขียนจดหมาย
- ก. คิดคล่อง
- ข. คิดยืดหยุ่น
- ค. คิดใหม่
- ง. คิดแตกต่าง
- ก. มีกิจกรรมติวเข้มให้นักเรียนเป็นประจำสม่ำเสมอ
- ข. มีครูที่มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ภาษาไทยดี
- ค. มีสิ่งแวดล้อมที่กระตุ้นนักเรียนให้มีความสนใจในการเรียนดี
- ง. มีการสอดแทรกทักษะการอ่านคิดเขียนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
- ก. อ่านเรื่อง ตอบคำถาม 5W 1 H สรุปและเขียนแผนภาพความคิด
- ข. อ่านเรื่อง ตอบคำถามหมวก 6 สี เขียนเรื่อง/ดัดแปลงเรื่องที่อ่าน
- ค. อ่านเรื่อง สนทนาอภิปรายแสดงความคิดเห็น เสนอวิธีแก้ปัญหาที่แตกต่าง
- ง. อ่านเรื่อง คิดวิเคราะห์ สรุปเรื่อง ค้นหาข้อคิดและสำนวนภาษาที่น่าสนใจ
- ก. ให้ผู้เรียนเลือกทำกิจกรรมที่สอดคล้องกับบทเรียนตามความสนใจ
- ข. เน้นกิจกรรมการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงและปฏิบัติจริง
- ค. เลือกวิธีการวัดผลการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนแต่ละคน
- ง. กำหนดชิ้นงาน/แบบฝึกที่เหมาะสมกับผู้เรียนแต่ละคน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น