วันศุกร์ที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

UTQ-02114

UTQ-02114 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ สำหรับผู้สอนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
คะแนน 15/20

 พฤติกรรมในข้อใดต่อไปนี้ที่ถือว่าเป็นการใช้ทักษะการสังเกตเป็นหลัก
เด็กชายสุดใจสามารถบรรยายคุณสมบัติของมะนาวให้เด็กหญิงพิมพ์ใจเห็นถึง ความแตกต่างกับสมบัติของส้มเขียวหวานได้อย่างชัดเจน

เครื่องมือวัดผลข้อใด ไม่เหมาะสมกับจุดประสงค์ของการประเมินผล
แบบประเมิน กับ การร่วมกิจกรรม

ขั้นตอนใดของกระบวนการเรียนการสอนโดยใช้วัฎจักรการสืบเสาะหาความรู้ ที่นักเรียนจะต้องลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อสนเทศ หรือปรากฏการณ์ต่างๆ
ขั้นสำรวจและค้นหา

การจัดการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ในข้อใดที่สามารถนำผลไปปรับปรุงการสอน หรือวางแผนการสอนในครั้งต่อไป
ขั้นวัดผล

ในการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ได้กำหนดเป้าหมายที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ด้านใดบ้าง
ความรู้ ความเข้าใจ จิตวิทยาศาสตร์ คุณลักษณะอันพึงประสงค์

ข้อใดเป็นความแตกต่างของการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ ของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 กับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
ระดับชั้นเรียน

คุณภาพผู้เรียนวิทยาศาสตร์เมื่อจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ครอบคลุมด้านใดบ้าง
ความรู้ ความคิด ทักษะ กระบวนการ จิตวิทยาศาสตร์

หัวใจของการวัดผล คือความเชื่อถือได้ของค่า/คะแนนความเชื่อถือได้มาจากข้อใด
ถูกทั้ง ก ข และ ค

ถ้าต้องการทดสอบว่า แสงมีผลต่อจำนวนไข่ของเป็ดตัวแปรต้น คือ
พันธุ์เป็ด

เพราะเหตุใดผู้สอนจึงต้องจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมง
เพื่อให้ผู้เรียนรับทราบว่าจะเรียนเนื้อหาอะไร

ทฤษฎีการเรียนรู้ใดที่เชื่อว่า การเรียนรู้เกิดขึ้นด้วยตัวของผู้เรียนเอง และการเรียนรู้เรื่องใหม่มีพื้นฐานมาจากความรู้เดิม
ทฤษฎีการสร้างเสริมความรู้ (constructivism)

ให้ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคำถาม
1. วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
2. วิเคราะห์ตัวชี้วัด
3. วิเคราะห์สาระการเรียนรู้แกนกลาง
4. วิเคราะห์โครงสร้างรายวิชา
การจัดทำคำอธิบายรายวิชา มีขั้นตอนในการดำเนินการตามลำดับ ข้อใดถูกต้อง
– 1 2 3

ข้อใดเป็นการประเมินผล
โอ๊ดสอบได้ 40 คะแนนไม่ผ่านเกณฑ์ครูจึงให้สอบซ่อม

ให้ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคำถาม
1. วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
2. วิเคราะห์ตัวชี้วัด
3. วิเคราะห์สาระการเรียนรู้แกนกลาง
4. วิเคราะห์โครงสร้างรายวิชา
การจัดทำหน่วยการเรียนรู้ มีขั้นตอนในการดำเนินการตามลำดับ ข้อใดถูกต้อง
– 1 2 3 4

ให้ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคำถาม
1. วิเคราะห์กระบวนการจัดการเรียนรู้
2. วิเคราะห์ตัวชี้วัด/สาระการเรียนรู้แกนกลาง
3. วิเคราะห์แหล่งการเรียนรู้
4. วิเคราะห์กระบวนการประเมินผลผลิต
การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ มีขั้นตอนในการดำเนินการตามลำดับ ข้อใดถูกต้อง
– 2 1 4 3

ท่านคิดว่าขั้นตอนใดของเทคนิคPOE เป็นการฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มากที่สุด
การสังเกต

การศึกษาทำให้เกิดการพัฒนาทางเทคโนโลยีและมีความก้าวหน้าเป็นอย่างมาก ในฐานะท่านเป็นครูวิทยาศาสตร์ท่านควรจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับนักเรียนอย่างไรบ้าง
จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ให้ผู้เรียนเกิดความตระหนักถึงผลกระทบต่อมวลมนุษย์และ สภาพแวดล้อม

ข้อใดไม่ใช่จุดมุ่งหมายของการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
ให้ครูทราบว่านักเรียนมีความรู้ความสามารถทักษะและความคิดอย่างไร

เทคนิค POE และวัฎจักรการสืบเสาะหาความรู้ ขั้นตอนใดที่มีความคล้ายคลึงกัน
การสังเกตและการสำรวจและค้นหา

ในการทดลองเรื่องการสังเกตการลุกไหม้ของเทียนไข ข้อใดเป็นคำตอบที่ไม่ได้เกิดจากการสังเกต
เทียนไขจะเริ่มละลาย แล้วหยดลงตามลำเทียน

1. ให้ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคำถาม
            1.  วิเคราะห์กระบวนการจัดการเรียนรู้
            2.  วิเคราะห์ตัวชี้วัด/สาระการเรียนรู้แกนกลาง
            3.  วิเคราะห์แหล่งการเรียนรู้
            4.  วิเคราะห์กระบวนการประเมินผลผลิต
การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้  มีขั้นตอนในการดำเนินการตามลำดับ  ข้อใดถูกต้อง
  • ก. 1 2 3 4
  • ข. 2 1 4 3
  • ค. 3 4 2 1
  • ง. 2 3 4 1
2. ให้ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคำถาม
            1.  วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
            2.  วิเคราะห์ตัวชี้วัด
            3.  วิเคราะห์สาระการเรียนรู้แกนกลาง
            4.  วิเคราะห์โครงสร้างรายวิชา
 การจัดทำคำอธิบายรายวิชา  มีขั้นตอนในการดำเนินการตามลำดับ  ข้อใดถูกต้อง
  • ก. 4 3 2 1
  • ข. 1 2
  • ค. 1 2 3 4
  • ง. 1 2 3
3.
หัวใจของการวัดผล คือความเชื่อถือได้ของค่า/คะแนน”  ความเชื่อถือได้มาจากข้อใด
  • ก. มีความตรง(validity)ค่า/คะแนนตรงกับสิ่งที่ต้องการวัด
  • ข. มีความเที่ยง(reliability) ค่า/คะแนนไม่เปลี่ยนแปลงในช่วงระยะเวลาหนึ่ง
  • ค. มีความเป็นปรนัย(objectivity) ค่า/คะแนนที่ผู้ตรวจให้คะแนนได้เท่าเดิมทุกครั้ง
  • ง. ถูกทั้ง ก ข และ ค
4. การศึกษาทำให้เกิดการพัฒนาทางเทคโนโลยีและมีความก้าวหน้าเป็นอย่างมาก ในฐานะท่านเป็นครูวิทยาศาสตร์ท่านควรจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อเตรียม ความพร้อมให้กับนักเรียนอย่างไรบ้าง
  • ก. จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยเน้นเนื้อหาเฉพาะทางเชิงลึก
  • ข. จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจในขอบเขตของวิทยาศาสตร์
  • ค. จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ให้ผู้เรียนเกิดทักษะ การคิดค้นทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
  • ง. จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ให้ผู้เรียนเกิดความตระหนักถึงผลกระทบต่อมวลมนุษย์และ สภาพแวดล้อม
5. ในการทดลองเรื่องการสังเกตการลุกไหม้ของเทียนไข ข้อใดเป็นคำตอบที่ไม่ได้เกิดจากการสังเกต

  • ก. เปลวไฟเป็นรูปวงรี มี 4 ชั้น
  • ข. ถ้าไม่มีแก๊สออกชิเจนเทียนจะดับ
  • ค. เทียนไขจะเริ่มละลาย แล้วหยดลงตามลำเทียน
  • ง. เมื่อจุดเทียนไข ไส้เทียนจะเปลี่ยนจากสีขาวเป็นสีดำ
6. ขั้นตอนใดของกระบวนการเรียนการสอนโดยใช้วัฎจักรการสืบเสาะหาความรู้ ที่นักเรียนจะต้องลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อสนเทศ หรือปรากฏการณ์ต่างๆ
  • ก. ขั้นประเมิน
  • ข. ขั้นขยายความรู้
  • ค. ขั้นสำรวจและค้นหา
  • ง. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
7. ข้อใดไม่ใช่จุดมุ่งหมายของการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
  • ก. ให้ครูทราบว่านักเรียนมีความรู้ความสามารถทักษะและความคิดอย่างไร
  • ข. พัฒนาผู้เรียนและการจัดการเรียนการสอนของครู
  • ค. พัฒนาผู้เรียนและตัดสินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
  • ง. ตัดสินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
8. เครื่องมือวัดผลข้อใด ไม่เหมาะสมกับจุดประสงค์ของการประเมินผล

  • ก. แบบประเมิน กับ การร่วมกิจกรรม
  • ข. แบบทดสอบ กับผลสัมฤทธิ์ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
  • ค. แบบสัมภาษณ์ กับ คุณลักษณะที่พึงประสงค์
  • ง. แบบสังเกตกับ คุณลักษณะที่พึงประสงค์
9.  

เทคนิค POE และวัฎจักรการสืบเสาะหาความรู้ ขั้นตอนใดที่มีความคล้ายคลึงกัน

  • ก. การทำนายและการสร้างความสนใจ
  • ข. การสังเกตและการสำรวจและค้นหา
  • ค. การอธิบายและการสำรวจและค้นหา
  • ง. การสังเกตและการอธิบายและลงข้อสรุป
10. ในการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ได้กำหนดเป้าหมายที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ด้านใดบ้าง
  • ก. ความรู้ ความเข้าใจ จิตวิทยาศาสตร์ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
  • ข. ความรู้ ความเข้าใจ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จิตวิทยาศาสตร์
  • ค. ความรู้ ความเข้าใจ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
  • ง. ความรู้ ความเข้าใจ ความคงทนในการเรียนรู้ ความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี
11. ถ้าต้องการทดสอบว่า แสงมีผลต่อจำนวนไข่ของเป็ดตัวแปรต้น คือ  
  • ก. แสง
  • ข. พันธุ์เป็ด
  • ค. จำนวนไข่
  • ง. อาหารเป็ด
12. พฤติกรรมในข้อใดต่อไปนี้ที่ถือว่าเป็นการใช้ทักษะการสังเกตเป็นหลัก 
  • ก. ผู้ว่าราชการจังหวัดแจ้งเตือนว่าวันพรุ่งนี้ระดับน้ำจะสูงขึ้นอีกเท่าตัว
  • ข. เด็กหญิงสมพรสามารถบอกเหตุผลในการใช้บีกเกอร์แทนกระบอกตวงได้อย่าง ถูกต้อง
  • ค. ผู้ว่าราชการจังหวัดรายงานระดับน้ำที่ท่วมที่หน้าศาลากลางจังหวัดว่าสูงขึ้นอีก 10 เซนติเมตร
  • ง. เด็กชายสุดใจสามารถบรรยายคุณสมบัติของมะนาวให้เด็กหญิงพิมพ์ใจเห็นถึง ความแตกต่างกับสมบัติของส้มเขียวหวานได้อย่างชัดเจน
13. เพราะเหตุใดผู้สอนจึงต้องจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมง
           
  • ก. เพื่อให้ผู้เรียนรับทราบว่าจะเรียนเนื้อหาอะไร
  • ข. เพื่อเป็นการจัดสถานการณ์ให้ผู้เรียนเตรียมตัวล่วงหน้า
  • ค. เพื่อกำหนดแนวทางในการจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนเปลี่ยนพฤติกรรมตาม จุดประสงค์
  • ง. เพื่อให้เป็นไปตามระบบของโรงเรียนที่กำหนดไว้
14. ข้อใดเป็นความแตกต่างของการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ ของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 กับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
           

  • ก. ระดับชาติ
  • ข. ระดับชั้นเรียน
  • ค. ระดับเขตพื้นที่
  • ง. ถูกทั้ง ก ข และ ค
15. คุณภาพผู้เรียนวิทยาศาสตร์เมื่อจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ครอบคลุมด้านใดบ้าง
  • ก. ความรู้ ความคิด ความคงทนในการเรียนรู้
  • ข. ความรู้ ทักษะกระบวนการ เจตคติต่อวิทยาศาสตร์
  • ค. ความรู้ ความคิด ทักษะ กระบวนการ จิตวิทยาศาสตร์
  • ง. ความรู้ ความคิด จิตวิทยาศาสตร์ การสืบค้นข้อมูล
16. ข้อใดเป็นการประเมินผล
           
  • ก. แดงสอบวิชาเคมีได้ 100 คะแนน
  • ข. ดำส่งผลงานได้ครบทุกชิ้นตามกำหนดเวลา
  • ค. ครูชมว่าสมชายมี กิริยา มารยาทที่เป็นแบบย่างที่ดี
  • ง. โอ๊ดสอบได้ 40 คะแนนไม่ผ่านเกณฑ์ครูจึงให้สอบซ่อม
17. การจัดการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ในข้อใดที่สามารถนำผลไปปรับปรุงการสอน  หรือวางแผนการสอนในครั้งต่อไป
  • ก. พฤติกรรมของผู้เรียนในขั้นตอนการกำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้
  • ข. ขั้นกิจกรรมการเรียนรู้
  • ค. ขั้นวัดผล
  • ง. ขั้นสรุป
18. ให้ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคำถาม
            1.  วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
            2.  วิเคราะห์ตัวชี้วัด
            3.  วิเคราะห์สาระการเรียนรู้แกนกลาง
            4.  วิเคราะห์โครงสร้างรายวิชา
การจัดทำหน่วยการเรียนรู้  มีขั้นตอนในการดำเนินการตามลำดับ  ข้อใดถูกต้อง       
  • ก. 1 2 3 4
  • ข. 4 3 2 1
  • ค. 3 4
  • ง. 2 3 4
19. ทฤษฎีการเรียนรู้ใดที่เชื่อว่า การเรียนรู้เกิดขึ้นด้วยตัวของผู้เรียนเอง และการเรียนรู้เรื่องใหม่มีพื้นฐานมาจากความรู้เดิม
  • ก. ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็ก (theory of cognitive development) ของ Piaget
  • ข. การเรียนรู้อย่างมีความหมายของ David P. Ausubel
  • ค. การเรียนรู้ด้วยการค้นพบ (discovery learning)
  • ง. ทฤษฎีการสร้างเสริมความรู้ (constructivism)
20. ท่านคิดว่าขั้นตอนใดของเทคนิคPOE เป็นการฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มากที่สุด
  • ก. การอธิบาย
  • ข. การสังเกต
  • ค. การทำนาย
  • ง. การอธิบายและลงข้อสรุป

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น