UTQ-55207 กฎหมายมหาชน
จำนวนคำถาม
: 20 ข้อ 16 / 20 : -
1. “อำนาจที่มาจากตัวแทนซึ่งได้รับการคัดเลือกมาจากประชาชน
โดยมีหัวหน้าคือนายกรัฐมนตรี” เป็นโครงสร้างอำนาจด้านใด
• ข.
อำนาจบริหาร
2. การรัฐประหารโดยการจัดร่างรัฐธรรมนูญเตรียมไว้ก่อนแล้ว
เป็นผู้มีอำนาจจัดทำรัฐธรรมนูญประเภทใด
• ก.
โดยบุคคลเดียว
3. ข้อใดเป็นกฎหมายมหาชนโดยแท้ทั้งหมด
• ก.
กฎหมายปกครอง กฎหมายการคลัง
4. “รัฐจะต้องเข้ามาจัดทำบริการสาธารณะให้ประชาชนทุกคนโดยไม่เฉพาะเพียงผู้ หนึ่งผู้ใด” เป็นหลักเกณฑ์สำคัญในการบริการสาธารณะหลักการใด
ก.
หลักความเสมอภาค
ข.
หลักความต่อเนื่อง
ค.
หลักการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
ง.
หลักการบริการ
• ก.
หลักความเสมอภาค
5.
ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับความแตกต่างของการควบคุมความชอบด้วยกฎหมายขององค์กรศาลและองค์กรบริหาร
• ง.
องค์กรปกครองจะควบคุมเรื่องความชอบด้วยกฎหมายเท่านั้น
6. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
• ค.
กฎหมายมหาชนมีเพื่อวางระเบียบบังคับระหว่างรัฐกับเอกชน
7. กฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎหมายปกครองแตกต่างกันอย่างไร
• ค.
ฐานะของกฎหมาย
8. ข้อใดคือกฎหมายมหาชน
• ก.
กฎหมายที่เกี่ยวกับกิจการของเอกชน
9.
ข้อใดคือลักษณะสำคัญของการบริการสาธารณะ
• ค.
มีวัตถุประสงค์เพื่อตอบสนองประโยชน์แก่สังคมส่วนรวม
10. ข้อใดไม่ใช่รูปแบบของการเปิดโอกาสในการแสดงความเห็นในร่างรัฐธรรมนูญ
• ก.
ให้ประชาชนส่งไปรษณียบัตรแสดงความคิดเห็น
11. ข้อใดไม่ใช่กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ
• ค.
กฎหมายมหาชน
12. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับบทบาทความสำคัญของกฎหมายมหาชน
• ข.
ทำให้เจ้าหน้าที่ของรัฐได้รับความคุ้มครองมากขึ้น
13. ความสั้นยาวของบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญมีหลักเกณฑ์ในการพิจารณาอย่างไร
• ง.
ถูกทุกข้อ
14. กิจการใดเป็นกิจการที่จัดทำเพื่อคุ้มครองประชาชน
• ง.
การป้องกันประเทศ
15. “การที่ฝ่ายปกครองใช้อำนาจตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น”
หมายถึง
• ง.
ความชอบด้วยกฎหมาย
16. วัตถุประสงค์ของการควบคุมความชอบด้วยกฎหมายคือ
• ก.
เพื่อป้องกันไม่ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐใช้อำนาจรัฐตามอำเภอใจ
17. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง
• ง.
กฎหมายปกครองเป็นสาขาหนึ่งของกฎหมายมหาชน
18. กฎหมายใดที่รัฐมีฐานะสูงกว่าเอกชน
• ง.
กฎหมายมหาชน
19. ข้อใดเป็นไม่ใช่ผลดีของการร่างรัฐธรรมนูญโดยสภาร่างรัฐธรรมนูญ
• ค.
มีความรู้ความเข้าใจในการจัดทำรัฐธรรมนูญ
20. กฎหมายที่อธิบายหรือขยายความเกี่ยวกับกฎเกณฑ์การปกครองประเทศตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด
เป็นกฎหมายประเภทใด
• ข.
กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น