พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านที่ดี พ.ศ. 2546
‘’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’
1. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.
2546 ให้ไว้ ณ วันที่เท่าใด
ก.
9 มกราคม 2546 ข. 9 ตุลาคม 2546
ค. 9 กุมภาพันธ์ 2546 ง.
9 พฤศจิกายน 2546
2. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.
2546 นี้บังคับเมื่อใด
ก. วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ข. วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ง. วันพ้นกำหนด 30 วัน นับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ง. วันพ้นกำหนด 90 วัน นับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
3.
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
พ.ศ. 2546 มีกี่หมวด
กี่มาตรา
ก.
9 หมวด 53 มาตรา ข. 8 หมวด 52 มาตรา
ค. 9 หมวด 54 มาตรา ง. 8 หมวด 54 มาตรา
ค. 9 หมวด 54 มาตรา ง. 8 หมวด 54 มาตรา
4.
หน่วยงานที่มีหน้าที่ในการกำหนดแนวดำเนินการทั่วไปให้กับส่วนราชการเพื่อให้เกิดการบริหารจัด
การที่ดี
ก. คปร. ข. คพร. ค. ปปร. ง. กพร.
5.
เป้าหมายสูงสุดของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีคือ
ก. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
ข. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
ค. มีประสิทธิภาพและเกิดความคุมค่าเชิงภารกิจของรัฐ
ง. ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานที่เกินความจำเป็น
6.
ส่วนราชการต้องบริหารจัดการอย่างไรให้เกิดเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
ก. ปฏิบัติการเพื่อให้เกิดความผาสุกและเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน
ข. ปฏิบัติการเพื่อให้เกิดความสงบสุขและความปลอดภัยของส่วนรวม
ค. ปฏิบัติการเพื่อให้เกิดที่ให้ประชาชนเป็นศูนย์กลางของการบริการจากรัฐ
ง. ถูกทุกข้อ
7.
การบริหารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน หมายถึงข้อใด ?
ก. การปฏิบัติราชการที่มีเป้าหมาย ข. การปฏิบัติราชการแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
ค การบริหารราชการแบบใหม่ ง.
การบริหารตามหลักธรรมาภิบาล
8.
แนวดำเนินการในการบริหารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
ก. การปฏิบัติภารกิจของรัฐต้องเป็นไปด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต สามารถตรวจสอบได้
ข. ภารกิจที่มีผลกระทบต่อประชาชนต้องรับฟังความคิดเห็นจากประชาชน
ค.
ก่อนดำเนินงานสวนราชการต้องศึกษาวิเคราะห์ผลดีผลเสียให้ครบทุกด้าน
ง. ถูกทุกข้อ
9.
ข้อใดคือหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ?
ก.
Good Governance ข. Good Governanc
ค.
Good Govenance ง. ถูกทุกข้อ
10.
ข้อใดไม่ใช่การบริหารราชหารเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
ก.
ก่อนดำเนินการตามภารกิจ ต้องจัดแผนปฏิบัติไว้ล่วงหน้า
ข.
แผนปฏิบัติราชการต้องมีรายละเอียดของขั้นตอน ระยะเวลา และงบประมาณที่ต้องดเนินการ
เป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์ และตัวชี้วัดความสำเร็จ
ค.
การติดตามและประเมินผลตามแผนปฏิบัติราชการ ส่วนราชการกำหนดโดยอิสระ
ง.
การปฏิบัติตามแผนปฏิบัติราชการเกิดผลกระทบต่อประชาชน ต้องดำเนินการแก้ไข
11.
ส่วนราชการที่มีภารกิจใกล้เคียงกันหรือต่อเนื่องกัน ให้ส่วนราชการกำหนดแนวทางปฏิบัติเพื่อให้เกิดการบริหารราชการแบบบูรณาการร่วมกัน
โดยมีจุดมุ่งเพื่ออะไร
ก.
เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ข.
เกิดความสามัคคีในหน่วยงาน
ค. เพื่อลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน ง.
เพื่อความคุ้มค่าในการปฏิบัติงาน
12.
“ส่วนราชการต้องจัดทำแผนปฏิบัติการไว้ล่วงหน้า”สนองต่อเป้าหมายการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดีข้อใด
ก. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
ข. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
ค. มีประสิทธิภาพและเกิดความคุมค่าเชิงภารกิจรัฐ
ง. ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานที่เกินความจำเป็น
13.
การบริหารราชการจังหวัดแบบบูรณาการ(CEO) สนองต่อเป้าหมายข้อใด
ก. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
ข. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
ค. มีประสิทธิภาพและเกิดความคุมค่าเชิงภารกิจรัฐ
ง. ปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อเหตุการณ์
14. ส่วนราชการต้องจัดให้มีการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์
และวิธีการที่ส่วนราชการกำหนดขึ้นต้องสอดคล้องกับมาตรฐานที่ใครกำหนด
ก. ครม. ข. รมต. ค.สำนังงบประมาณ. ง. ก.พ.ร.
15.
เรื่องใดเกิดขึ้นก่อน
ก. แถลงนโยบาย ข. จัดทำแผนปฏิบัติราชการ
ค. จัดทำแผนบริหารแผ่นดิน ง. จัดทำแผนนิติบัญญัติ
16.
หน่วยงานที่มีหน้าจัดจัดทำแผนบริหารราชการแผ่นดินเพื่อเสนอ ครม.ให้ความเห็นชอบ
ก. สำนักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ข. สำนักงานเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
ค. สำนักงบประมาณ ง. ถูกทุกข้อ
17.
หน่วยงานตามข้อ 16
ต้องจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดินเสนอ ครม.ภายในกี่วัน
ก. ภายใน 15 วันนับตั้งแต่วันที่แถลงนโยบาย ข. ภายใน 30
วันนับตั้งแต่วันที่แถลงนโยบาย
ค. ภายใน 60 วันนับตั้งแต่วันที่แถลงนโยบาย ง.
ภายใน 90 วันนับตั้งแต่วันที่แถลงนโยบาย
18.
แผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการกำหนดระยะเวลาไว้ตามข้อใด
ก.
1 ปี ข. 2 ปี ค.
3 ปี ง.
4 ปี
19.
ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับแผนบริหารราชการแผ่นดิน
ก.
สาระสำคัญต้องมีกำหนดเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ของงาน
ข.
ต้องมีบุคคลที่รับผิดชอบในแต่ละภารกิจ
ค.
ต้องมีประมาณการรายได้และรายจ่ายและทรัพยากรต่างๆ
ง. ถูกทุกข้อ
20.
หน่วยงานใดมีหน้าที่จัดทำแผนนิติบัญญัติ
ก. สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ข. สำนักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
ค. สำนักงานเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ค
21. ใครเป็นผู้เห็นชอบแผนปฏิบัติราชการประจำปีของส่วนราชการ
ก. นายรัฐมนตรี ข. คณะรัฐมนตรี
ค. รัฐมนตรี ง. ปลัดกระทรวง
22.
เมื่อสิ้นปีงบประมาณให้ส่วนราชการจัดทำรายงานแสดงผลสัมฤทธิ์ของแผนปฏิบัติราชการประจำปี
เสนอต่อใคร
ก. นายรัฐมนตรี ข. คณะรัฐมนตรี
ค. รัฐมนตรี ง.
ปลัดกระทรวง
23.
ส่วนราชการต้องจัดทำแผนปฏิบัติราชการเพื่อขอรับงบประมาณหน่วยงานใดกำหนดแนวทางจัดทำ
ก. ก.พ.ร. ข.
สำนักงบประมาณ
ค.สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ข
24.
ในการปฏิบัติราชการในส่วนราชการให้มีประสิทธิภาพข้อมูลข่าวสารใดที่ต้องเผยแพร่ให้ข้าราชการและประชาชนทราบทั่วโดยทั่วกัน
ก. เป้าหมาย ข.
แผนการทำงานและงบประมาณ
ค. ระยะเวลาเสร็จโครงการ ง. ถูกทุกข้อ
25.
รายจ่ายต่อหน่วยของงานบริการสาธารณะใดของส่วนราชการใดสูงกว่ารายจ่ายต่อหน่วยของส่วนราชการอื่นที่มีประเภทและคุณภาพคล้ายคลึงกัน
ให้ส่วนราชการนั้นจัดทำแผนลดรายจ่ายเสนอต่อใคร
ก. สำนักงบประมาณ ข. กรมบัญชีกลาง ค. ก.พ.ร. ง.
ถูกทุกข้อ
26.
หน่วยงานใดจัดให้มีการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของรัฐที่ส่วนราชการดำเนินการอยู่
ก.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ข. สำนักงบประมาณ
ค.
สำนักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
ง. ถูกทั้ง ก และ ข
27. การประเมินความคุ้มค่าตามข้อ 25 ให้คำนึงถึงอะไร
ก.
ประเภทและสภาพของแต่ละภารกิจ
ข.
ความเป็นไปได้ของภารกิจหรือโครงการที่ดำเนินการ
ค.
ประโยชน์ที่รัฐและประชาชนจะพึงได้ และรายจ่ายที่ต้องเสียไปก่อนและหลังดำเนินการ
ง. ถูกทุกข้อ
28.
การจัดซื้อจัดจ้าง สนองต่อเป้าหมายการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดีข้อใด
ก. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
ข. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
ค. มีประสิทธิภาพและเกิดความคุมค่าเชิงภารกิจรัฐ
ง. ปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อเหตุการณ์
29.
การจัดซื้อจัดจ้างข้อใดถูกต้อง ?
ก. เปิดเผย และ เที่ยงธรรม ข. คำนึงถึงผลประโยชน์และผลเสียทางสังคม
ค. ไม่ต้องถือราคาต่ำสุดเสมอไป ง.
ทุกข้อ
30.
ส่วนราชการที่รับเรื่องการอนุญาต อนุมัติตามกฎหมายกำหนดจากส่วนราชการอื่น
ต้องพิจารณาและแจ้งผลให้ส่วนราชการที่ยื่นเรื่องภายในกี่วันนับจากได้รับคำขอ
ก. ภายใน 7 วัน ข. ภายใน 15 วัน ค. ภายใน
30 วัน ง.
ภายใน 60 วัน
31. เรื่องใดที่มีกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศหรือมติ ครม.กำหนดขั้นตอนการปฏิบัติไว้
และขั้นตอนการปฏิบัตินั้นต้องใช้ระยะเวลาเกินตามข้อ 29
ให้ส่วนราชการอื่นนั้นดำเนินการอย่างไร
ก.
ดำเนินโดยด่วนเมื่อได้รับการประสาน ข.
แจ้งให้ส่วนราชการนั้นทราบล่วงหน้า
ค.
ประกาศกำหนดระยะเวลาไว้ ง.
ถูกทุกข้อ
32.
การสั่งราชการโดยปกติให้กระทำเป็นลายลักษณ์อักษร
เว้นแต่ผู้บังคับบัญชามีความจำเป็นที่ไม่อาจสั่งเป็นลายลักษณ์อักษรได้
จะสั่งราชการด้วยวาจาก็ได้ ผู้รับคำสั่งต้องดำเนินการอย่างไร
ก.
บันทึกคำสั่งด้วยวาจาไว้เป็นลายลักษณ์อักษร ข.
ปฏิบัติราชการตามคำสั่ง
ค.
บันทึกรายงานให้ผู้สั่งทราบพร้อมบันทึกอิงคำสั่งด้วยวาจาไว้ ง. ถูกทุกข้อ
33.
การกระจายอำนาจการตัดสินใจเกี่ยวกับการอนุญาตอนุมัติ หรือการปฏิบัติราชการ
มุ่งให้เกิดความ
สะดวกและรวดเร็วในการบริการประชาชน
ก. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
ข. มีประสิทธิภาพและเกิดความคุมค่าเชิงภารกิจรัฐ
ค. ปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อเหตุการณ์
ง. การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน
34.
หน่วยงานใดเป็นกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการหรือแนวทางในการกระจายอำนาจการตัดสินใจ
ความรับผิดชอบระหว่างผู้มอบอำนาจและผู้รับมอบ
และการลดขั้นตอนในการปฏิบัติราชการให้
ส่วนราชการถือปฏิบัติ
ก. ก.พ.ร. ข.
สำนักงบประมาณ
ค.สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ง. ถูกทั้งข้อ ข และ ค
35.
ใครให้ความเห็นชอบหลักเกณฑ์ตามข้อ 34
ก. นายรัฐมนตรี ข. คณะรัฐมนตรี
ค. รัฐมนตรี ง.
ปลัดกระทรวง
36.
ส่วนราชการต้องจัดทำแผนภูมิ ขั้นตอนระยะเวลาในการปฏิบัติราชการเปิดเผยให้ประชาชนทราบไว้ที่ใด
ก. สำนักงานที่ทำการส่วนราชการนั้น ข. เผยแพร่ในราชกิจจานุเบกษา
ค. เว็บไซต์ของหน่วยงาน ง. ข้อ ก และ ค
37. One Stop Service สนองต่อเป้าหมายการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดีข้อใด
ก. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
ข. มีประสิทธิภาพและเกิดความคุมค่าเชิงภารกิจรัฐ
ค. ปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อเหตุการณ์
ง. การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน
38.
ให้ส่วนราชการจัดให้มีการทบทวนภารกิจของตนว่าภารกิจใดมีความจำเป็นหรือสมควรที่จะดำเนินการต่อหรือไม่
โดยคำนึงถึงสิ่งใด
ก.
แผนการบริหารราชการแผ่นดิน ข.
นโยบายของคณะรัฐมนตรี
ค.
ความคุ้มค่าของภารกิจและกำลังงบประมาณ ง.
ถูกทุกข้อ
39.
ส่วนราชการจะยกเลิก เปลี่ยนแปลงภารกิจ หรือปรับโครงสร้างอัตรากำลังได้ต้องขออนุมัติหน่วยงานใด
ก. ก.พ.ร. ข. คณะกรรมการกฤษฎีกา
ค. คณะกรรมการที่กฎหมายนั้นๆระบุ ง. คณะรัฐมนตรี
40.
ถ้ากฎหมาย กฎ ระเบียบ
ข้อบังคับหรือประกาศที่อยู่ในความรับผิดชอบของส่วนราชการใด
ไม้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน ไม่เอื้ออำนวยต่อการพัฒนาประเทศ
หรือเป็นอุปสรรคต่อการดำรงชีวิตของประชาชาชน
หน่วยงานใดมีหน้าที่เสนอแนะต่อส่วนราชการนั้นให้ดำเนินแก้ไข ปรับปรุงหรือยกเลิก
ก. ก.พ.ร. ข.
สำนักงบประมาณ
ค.สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ง. คณะรัฐมนตรี
41.
ถ้าส่วนราชการไม่เห็นด้วยกับข้อเสนอแนะของหน่วยงานตามข้อ 40 ให้เสนอเรื่องต่อใคร
ก. ก.พ.ร. ข.
นายกรัฐมนตรี
ค.สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ง. คณะรัฐมนตรี
42.
หากประชาชนมีหนังสือสอบถามเรื่องตามอำนาจหน้าที่มายังหน่วยงานราชการๆนั้นจะต้องตอบหรือแจ้งการดำเนินงานให้ประชาชนทราบภายในกี่วัน
ก. ภายใน 5 วัน ข. ภายใน 7 วัน
ค. ภายใน 15 วัน ง. ตามความเหมาะสม
43.
กรณีส่วนราชการใดไม่อาจจัดให้มีระบบเครือข่ายสารสนเทศเทศของส่วนราชการได้
อาจขอร้องให้กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารดำเนินการจัดทำระบบให้
แต่กระทรวงเทคโนโลยีฯ จะขอสิ่งใดจากส่วนราชการ
ก. บุคลากร ข. ค่าใช้จ่าย ค. ข้อมูล ง. ถูกทุกข้อ
44.
ในกรณีที่ได้รับการร้องเรียนหรือข้อเสนอแนะจากส่วนราชการอื่นในเรื่องใด
ให้ส่วนราชการนั้นชี้แจงต่อผู้ร้องเรียนหรือข้อเสนอแนะจากส่วนราชการอื่นภายในกี่วัน
ก. ภายใน 5 วัน ข. ภายใน 7 วัน
ค. ภายใน 15 วัน ง. ตามความเหมาะสม
45. การปฏิบัติราชการในเรื่องใดๆโดยปกติถือว่าเป็นเรื่องเปิดเผย เว้นแต่เรื่องต่อไปนี้ให้กำหนดเป็นความลับ
ก. เพื่อประโยชน์ในการรักษาความมั่นคงของประเทศและความมั่นทางเศรษฐกิจ
ข.
การคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล
ค.
การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาน
ง. ถูกทุกข้อ
46.
ส่วนราชการต้องเปิดเผยข้อมูลงบประมาณรายจ่ายแต่ละปี
รายการจัดซื้อจัดจ้าง สัญญาต่างๆ
ให้ประชาชนสามารถขอดูหรือตรวจสอบได้ โดยเปิดเผยให้ประชาชนทราบไว้ที่ใด
ก. สำนักงานที่ทำการส่วนราชการนั้น ข. เผยแพร่ในราชกิจจานุเบกษา
ค. เว็บไซต์ของหน่วยงาน ง. ข้อ ก และ ค
47 ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับดำเนินการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ
ก.
ประเมินเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ คุณภาพการให้บริการ ความพึงพอใจขอประชาชน
ผู้รับบริการ ความคุ้มค่าในภารกิจ
ข.
การประเมินต้องต้องกระทำเป็นความลับและเป็นไปเพื่อประโยชน์แห่งความสามัคคีของข้าราชการ
ค.
การประเมินผลการปฏิบัติงานของข้าราชการเพื่อประโยชน์ในการบริหารงานบุคคล ให้ส่วนราชการประเมินโดยคำนึงถึงผลการปฏิบัติงานของข้าราชการทั้งหมดในหน่วยงานนั้น
เพื่อประโยชน์และผลสัมฤทธิ์ที่เกิดขึ้นกับหน่วยงานนั้น
ง. ส่วนราชการใดได้ดำเนินงานไปตามเป้าหมาย สามารถเพิ่มผลงานและผลสัมฤทธิ์ โดยไม่เป็นการเพิ่มค่าใช้จ่ายและคุ้มค่าต่อภารกิจของรัฐ ให้ ก.พ.ร.
เสนอคณะรัฐมนตรีจัดสรรเงินรางวัลการเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่ส่วนราชการนั้น
48. ส่วนราชการที่ดำเนินการให้บริการที่มีคุณภาพเป็นไปตามเป้าหมาย ประชาชนพึงพอใจ
จะได้รับ
ก. เงินเพิ่มพิเศษ ข.
เงินโบนัส
ค. เงินตอบแทน ง. เงินรางวัลการเพิ่มประสิทธิภาพ
49. หน่วยงานใดให้ความเห็นชอบให้รางวัลแก่ส่วนราชการตามข้อ
48
ก. ก.พ.ร. ข.
นายกรัฐมนตรี
ค.รัฐมนตรีที่ส่วนราชการนั้นสังกัด ง. คณะรัฐมนตรี
50. ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดทำหลักเกณฑ์การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีให้สอดคล้องกับบทบัญญัตินี้เกี่ยวกับเรื่องใด
ก. การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน
ข. การบริหารเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
ค.
การอำนวยความสะดวกและตอบสนองความต้องการของประชาชน
ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ข
51.
ใครเป็นผู้ลงนามสนองพระบรมราชโองการตามกฎหมายนี้
ก. นายกรัฐมนตรี
ข. รมต.ประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
ค. รมต.ที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย
ง. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
‘’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’’
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น