พรบ. ข้อมูลข่าวสารของราชการพ.ศ. 2540
………………………………………………………………
1. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์และคุณค่าของ
พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสาร พ.ศ. 2540
ก. ช่วยกระตุ้นและส่งเสริมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของประชาชนในกิจการของรัฐและส่วนรวม
ข. ช่วยส่งเสริมและพัฒนาระบบการเมืองและระบบการบริหารของประเทศให้มีความโปร่งใส
ค.
ช่วยให้ประชาชนได้รับความเป็นธรรมในการพิทักษ์สิทธิของตน
ง.
ถูกทุกข้อ
2. ข้อใดเป็นเหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ
ก. เพื่อให้ประชาชนได้มีโอกาสรับรู้ข่าวสารของทางราชการ
ข.
เพื่อกำหนดข้อยกเว้นในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารให้ชัดเจน
ค. เพื่อคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคลในส่วนที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลข่าวสารของทางราชการ
ง. ถูกทุกข้อ
2.
พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสาร
พ.ศ. 2540 มีผลบังคับตามข้อใด
ก. วันที่ 10 กันยายน 2540
ข. วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ค. วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ง. วันพ้นกำหนด 90 วัน นับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
3. พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสาร
พ.ศ. 2540 ประกาศใช้เมื่อใด
ก. 10 กันยายน 2540 ข. 11 กันยาน 2540
ค. 9 ธันวาคม 2540 ง. 10 ธันวาคม 2540
4. พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสาร
พ.ศ. 2540 บังคับใช้เมื่อใด
ก. 10 กันยายน 2540 ข. 11
กันยาน 2540
ค. 9 ธันวาคม 2540 ง. 10 ธันวาคม 2540
5. พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสาร
พ.ศ. 2540 มีทั้งหมดกี่หมวดกี่มาตรา
ก. 7 หมวด 40 มาตรา ข.
7 หมวด 41 มาตรา
ค. 7 หมวด 42 มาตรา ง. 7 หมวด 43 มาตรา
6. ใครเป็นผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ
ก.
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ข.
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีและการสื่อสาร
ค.
นายกรัฐมนตรี
ง.
ประธานสภาผู้แทนราษฎร
7.
สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการเป็นหน่วยงานอยู่ในส่วนราชการใด
ก.
สำนักนายกรัฐมนตรี
ข.
สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
ค. สำนักงานข่าวกรองแห่งชาติ
ค. สำนักงานข่าวกรองแห่งชาติ
ง. รัฐสภา
8. ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก.
ข้อมูลข่าวสาร หมายความรวมถึง สิ่งที่สื่อความหมายให้รู้เรื่องราว ข้อมูล
ด้วยการบันทึกโดยเครื่องคอมพิวเตอร์
ข. ข้อมูลข่าวสารของราชการ หมายความรวมถึง ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับเอกชนที่อยู่ในความครอบครองของรัฐ
ข. ข้อมูลข่าวสารของราชการ หมายความรวมถึง ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับเอกชนที่อยู่ในความครอบครองของรัฐ
ค.
ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล หมายความถึง ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสิ่งเฉพาะตัวของบุคคลที่อยู่ในความครอบครองของรัฐ
ง.
เจ้าหน้าที่ของรัฐ หมายถึง ผู้ปฏิบัติงานให้แก่หน่วยงานของรัฐ
9. หน่วยงานของรัฐต้องส่งข้อมูลข่าวสารประเภทใด
ลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา
ก.
โครงสร้าง
และการจัดองค์การในการดำเนินงานของหน่วยงานของรัฐ
ข.
รายชื่อ
ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้างในหน่วยงานของรัฐ
ค.
คำสั่งเกี่ยวกับการปฏิบัติงานภายในส่วนราชการ
ง.
งบประมาณรายจ่ายประจำปีของปีที่กำลังดำเนินการของหน่วยงานของรัฐ
10. ข้อใดไม่ใช่ข่าวสารประเภทที่หน่วยงานของรัฐต้องจัดไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้
ก. ผลการพิจารณาของหน่วยงานของรัฐที่มีผลต่อเอกชน
ข. คู่มือการปฏิบัติงานของราชการ
ค. มติคณะรัฐมนตรี หรือมติคณะกรรมการแต่งตั้งโดยกฎหมาย
ง. แผนงาน โครงการและงบประมาณรายจ่ายประจำปีของปีที่กำลังดำเนินการ
11. ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของหน่วยงานของรัฐ
ในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ
ก. ส่งข้อมูลข่าวสารของราชการลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา
ข. จัดข้อมูลข่าวสารไว้ให้ประชาชนตรวจดู
ค. จัดหาข้อมูลข่าวสารให้แก่ผู้ขอในเวลาอันสมควร
ง. จัดทำสำเนาและรับรองข้อมูลข่าวสารให้กับประชาชนทุกครั้งตามประสงค์ที่ขอ
ง. จัดทำสำเนาและรับรองข้อมูลข่าวสารให้กับประชาชนทุกครั้งตามประสงค์ที่ขอ
12. ข้อใดไม่ใช่
"หน่วยงานของรัฐ" ตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ
ก. ราชการส่วนท้องถิ่น
ข. หน่วยงานอิสระของรัฐ
ค. รัฐวิสาหกิจ
ง. ศาลในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการพิจารณาคดี
ค. รัฐวิสาหกิจ
ง. ศาลในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการพิจารณาคดี
13. ถ้าหน่วยงานของรัฐไม่เปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
ประชาชนผู้ได้รับผลกระทบต่อการกระทำดังกล่าว
มีสิทธิดำเนินการอย่างไร
ก.
ร้องเรียนต่อคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ
ข.
อุทธรณ์ต่อคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ
ค. ฟ้องร้องต่อศาล
ง. ถูกเฉพาะข้อ ก และ ข
ง. ถูกเฉพาะข้อ ก และ ข
14. ข้อใดเป็นข่าวสารที่กำหนดว่าห้ามเปิดเผย
ก.
ข่าวสารที่การเปิดเผยจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศ
ข. ข่าวสารที่การเปิดเผยจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ค. ข่าวสารที่อาจให้เกิดความเสียหายต่อสถาบันพระมหากษัตริย์
ข. ข่าวสารที่การเปิดเผยจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ค. ข่าวสารที่อาจให้เกิดความเสียหายต่อสถาบันพระมหากษัตริย์
ง. ถูกทุกข้อ
15.
ข้อใดเป็นข่าวสารที่หน่วยงานของรัฐอาจมีคำสั่งมิให้เปิดเผย
ก. ข่าวสารที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อสถาบันพระมหากษัตริย์
ข. ข่าวสารที่การเปิดเผยจะก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตหรือความปลอดภัยของบุคคลใด
บุคคลหนึ่ง
ค. ข่าวสารที่การเปิดเผยจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ง.
ถูกเฉพาะข้อ
ข และ ค
16.
องค์กรใดมีหน้าที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับวิชาการและธุรการ ปฏิบัติงานทั่วไปเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารของทางราชการ
ก. สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ
ข. คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ
ค. คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ
ง. คณะอนุกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ
17.
ข้อมูลข่าวสารราชการ หากมีบางส่วนที่ต้องห้ามมิให้เปิดเผยให้ดำเนินการเช่นใด
ก. ห้ามเปิดเผยทั้งฉบับ ข. ให้ขีดฆ่าด้วยหมึกแดง
ค. ให้ลบหรือตัดตอนข้อความนั้น ง. ให้ดำเนินการข้อใดข้อหนึ่ง
18.
ภาระหน้าที่สำคัญของหน่วยงานรัฐเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารส่วนราชการคือข้อใด
ก. พิมพ์ข้อมูลข่าวสารลงในราชกิจจานุเบกษา ข. จัดข้อมูลข่าวสารไว้ให้ประชาชนได้ตรวจดู
ค. ทำข้อมูลข่าวสารให้แก่ผู้ขอ ง. ถูกทุกข้อ
19.
ข้อมูลข่าวสารของราชการที่ไม่ควรเปิดเผยหน่วยงานรัฐต้องดำเนินการตามข้อใด
ก. แจ้งให้ประชาชนได้ทราบ ข. ประกาศห้ามในราชกิจจานุเบกษา
ค. ลบหรือตัดทอนข้อมูลข่าวสารนั้น ง. ทำคำสั่งมิให้เปิดเผย
20.
หากประชาชนขอดูข้อมูลข่าวสารต่อหน่วยงานของท่าน แต่ข้อมูลข่าวสารนั้นอยู่ในความควบคุมของหน่วยงานอื่น
จะดำเนินการอย่างไร
ก. ไม่รับคำขอ ข. รับคำขอและยื่นต่อหน่วยงานนั้นๆ
ค. รับคำขอและเป็นธุระจัดหาให้ ง. แนะนำให้ไปยื่นคำขอต่อหน่วยงานนั้นๆ
21.
กรณีประชาชนไม่ได้ดูข้อมูลข่าวสารจากราชการหรือไม่ได้รับความสะดวกโดยไม่มีเหตุอันสมควรจะร้องเรียนต่อหน่วยงานใด
ก. สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารราชการ
ข. คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ
ค. ผู้บังคับบัญชาของหน่วยงานนั้นๆ
ง. คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
22.
ข้อมูลข่าวสารใด หน่วยงานราชการเปิดเผยไม่ได้
ก. ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์
ข. รายงานบทบาทการแพทย์ของบุคคลใดๆ
ค. ข้อมูลเกี่ยวกับราชการทางทหาร
ง. ข้อมูลที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อสถาบันพระมหากษัตริย์
23.
ข้อมูลที่หน่วยงานรัฐจะเปิดเผยแต่กระทบต่อบุคคลอื่นๆ ต้องแจ้งให้บุคคลนั้นเสนอคัดค้านมิให้เปิดเผยในเวลาตามข้อใด
ก. ภายใน 15 วันนับตั้งแต่วันรับแจ้ง ข. ไม่น้อยกว่า
15 วันนับแต่วันรับแจ้ง
ค. ภายใน 30 วันนับแต่วันรับแจ้ง ง. ไม่น้อยกว่า
30 วันนับแต่วันรับแจ้ง
24.
กรณีที่มีการคัดค้านคำสั่งเปิดเผยข้อมูล และเจ้าหน้าที่ของรัฐมีคำสั่งไม่รับฟ้องคำคัดค้าน
เจ้าหน้าที่ของรัฐจะเปิดเผยข้อมูลข่าวสารนั้นได้เมื่อใด
ก. เปิดเผยได้ทันที
ข. เปิดเผยเมื่อได้ล่วงพ้นกำหนดระยะเวลาอุทธรณ์
ค.
เปิดเผยได้เมื่อล่วงพ้น 30 วันไปแล้ว
ง.
เปิดเผยเมื่อได้ล่วงพ้น 45 วันไปแล้ว
25.
การดำเนินการตามข้อ 24 หากหน่วยงานรับยังไม่ประสงค์จะเปิดเผยและมีคำสั่งมิให้รับฟัง
คำคัดค้านบุคคลนั้นจะอุทธรณ์เพื่อมิให้เปิดเผยข้อมูลต่อใคร
ก. เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับผิดชอบ ข. คณะกรรมการข้อมูลข่าวสาร
ค. คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ง. นายกรัฐมนตรี
26.
ข้อมูลที่มีคำสั่งมิให้เปิดเผยหากมีอายุการเก็บครบ 20 ปี แต่หน่วยงานรัฐเห็นว่ายังไม่ควรเปิดเผยต้องของขยายเวลาส่งเก็บรักษา โดยขยายเวลาไม่เกินคราวละกี่ปี
ก.
1 ปี ข. 5 ปี ค. 7 ปี ง.
10 ปี
27.
ผู้ขอข้อมูลมีสิทธิร้องเรียนต่อคณะกรรมการในกรณีหน่วยงานของรัฐไม่ปฏิบัติตามกฎหมายในข้อใด
ก. ไม่จัดข้อมูลข่าวสารไว้ให้ประชาชนดู
ข.
ปฏิบัติหน้าที่ล่าช้า
ค.
ไม่อำนวยความสะดวกโดยไม่มีเหตุอันควร
ง.
ถูกทุกข้อ
28.
ข้อมูลข่าวสารที่หน่วยงานของรัฐประสงค์จะเก็บรักษา หรือมีอายุครบเก็บ
จะต้องเก็บรักษา หรือจัดให้ประชาชนได้ศึกษาที่หน่วยงานใด
ก. สำนักงานทะเบียนกลาง สำนักนายกรัฐมนตรี
ข. หอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร
ค. สำนักงานทะเบียนกลางสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
ง. ให้หน่วยงานรัฐนั้นๆ ทำลายตามระเบียบงานสารบรรณ
29.
ข้อมูลที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่สถาบันพระมหากษัตริย์ มีอายุการเก็บรักษากี่ปี
ก.
20 ปี ข. 25 ปี ค. 35 ปี ง. 75 ปี
30.
ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับคณะกรรมการข้อมูลข่าวสาร
ก. คณะกรรมการมีทั้งหมด 23 คนโดยตำแหน่ง 14 คนผู้ทรงคุณวุฒิ 9 คน
ข. คณะกรรมการมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 3 ปีแต่งตั้งอีกก็ได้แต่ไม่เกิน
2 วาระ
ค. การวินิจฉัยชี้ขาดของคณะกรรมการคือเสียงข้างมาก
ง. คณะกรรมการพิจารณาคำร้องเรียนให้แล้วเสร็จภายในวัน 30 วัน หากจำเป็นขยายเวลาอีก
ไม่เกิน 30 วัน
31.
ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับคณะกรรมการวินิจฉัยข้อมูลข่าวสารฯ
ก. มีจำนวน 5 คณะแต่งตั้งโดย ครม.ตามที่คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารเสนอ
ข. คณะกรรมการแต่ละคณะมีจำนวนไม่น้อยกว่า 3 คน
ค. เลขานุการ , ผู้ช่วยเลขานุการแต่ละคณะแต่งตั้งจากข้าราชการประจำ
ง. การพิจารณาเกี่ยวข้องกับหน่วยงานใดให้กรรมการที่แต่งตั้งจากหน่วยงานนั้น
รับข้อมูลไปพิจารณา
32.
เมื่อคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารได้รับข้ออุทธรณ์จากผู้ขอ ต้องส่งให้คณะกรรมการวินิจฉัยข้อมูลสาขานั้นๆ
ภายในกี่วัน นับตั้งแต่คณะกรรมการได้รับคำอุทธรณ์
ก.
5 วัน ข. 7 วัน ค. 10 วัน ง. 15 วัน
33.
ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. คำวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยข้อมูลให้ถือเป็นที่สุด
ข. กรรมการวินิจฉัยข้อมูลจะเป็นเลขานุการในคณะนั้นๆ
ค. ระเบียบการรักษาความปลอดภัยยังใช้อยู่ในส่วนที่ไม่เกี่ยวข้อง
ง. คณะกรรมการแต่ละคณะมี 3 คน
34.
ผู้ใดที่คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารเรียกมาให้ถ้อยคำหรือให้ส่งวัสดุเอกสาร
พยานมาให้แต่ไม่ทำตามคำสั่งของคณะกรรมการ มีบทบาทลงโทษตามข้อใด
ก. จำคุกไม่เกิน 3 เดือน ข. ปรับไม่เกิน
5,000 บาท
ค. ทั้งจำ ทั้งปรับ ง.
ถูกทุกข้อ
35.
ผู้ใดฝ่าฝืน ไม่ปฏิบัติตามระเบียบตามข้อจำกัดตามเงื่อนไขที่เจ้าหน้าที่ของรัฐกำหนด
ทำให้มีความรับผิดชอบตามกฎหมาย ต้องได้รับโทษตามข้อใด
ก. จำคุกไม่เกิน 1 ปี ข. จำคุกไม่เกิน
2 ปี
ค. ปรับไม่เกิน 2 หมื่นบาท ง. ข้อ ก หรือ ค หรือทั้งจำทั้งปรับ
36.
รัฐธรรมนูญมาตราใดบ้าง ที่กล่าวอ้างเกี่ยวข้องกับข้อมูลข่าวสารของทางราชการ
ก. มาตรา 58 ข.
มาตรา 59
ค. มาตรา 60 ง. เฉพาะข้อ ก , ข เท่านั้น
37.
ข้อใดเป็นหน้าที่ของคณะกรรมการวินิจฉัยข้อมูลข่าวสาร
ก. พิจารณาวินิจฉัย อุทธรณ์คำสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูล
ข. พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์คำสั่งที่ให้รับคำคัดค้าน
ค. พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์คำสั่งมิให้เปลี่ยนแปลงแก้ไขหรือลบข้อมูลส่วนบุคคล
ง. ถูกทุกข้อ
38.
ข้อใดไม่ใช่อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ
ก. กำหนดหลักเกณฑ์การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ
ข.
สอดส่องการดูแลการดำเนินงานของหน่วยงานของรัฐในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ
ค.
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดำเนินงานของหน่วยงานของรัฐในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติ
ง.
พิจารณาและให้ความเห็นเรื่องร้องเรียน
39.
ข้อใดไม่ใช่วิธีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของหน่วยงานรัฐ
ก. การขาย ข.
การจำหน่าย ค. การจ่ายแจก ง. การประกาศ
240
ข้อมูลข่าวสารของราชการใดที่ไม่สามารถเปิดเผยได้
ก. ข้อมูลที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อสถาบันพระมหากษัตริย์
ข. รายงานทางการแพทย์
ค. ข้อมูลข่าวสารทางการปกครอง
ง. ทุกข้อมูลต้องเปิดเผย
41.ข้อมูลข่าวสารที่สามารถจัดให้ประชาชนเข้าตรวจได้ แต่ถ้าต้องห้ามมิให้เปิดเผยให้ดำเนินการ
ตามข้อใด
ก. ไม่เปิดเผยทั้งฉบับ ข. มีคำสั่งมิให้เปิดเผย
ค. ลบ ตัดตอน ทำอย่างอื่นที่ไม่เป็นการเปิดเผย ง. ขีดฆ่าข้อความนั้น
42.
ใครมีสิทธิเขาตรวจดู ขอสำเนาของข้อมูลข่าวสารที่ส่วนราชการจัดไว้ให้
ก. บุคคลทั่วไป ข.
บุคคลที่มีส่วนได้เสียเกี่ยวข้องกับข้อมูล
ค. บุคคลที่ไม่มีส่วนได้เสียเกี่ยวกับข้อมูล ง. ถูกทุกข้อ
43.
หากมีบุคคลมาร้องเรียนต่อคณะกรรมการข้อมูลข่าวสาร ฯ คณะกรรมการต้องพิจารณาให้แล้วเสร็จ
ภายในกี่วัน
ก. ภายใน 15 วัน ข. ภายใน
15 วันนับตั้งแต่วันที่ได้รับคำร้องเรียน
ค. ภายใน 30 วัน ง. ภายใน
30 วันนับตั้งแต่วันที่ได้รับคำร้องเรียน
44.
ในกรณีที่หน่วยงานของรัฐพิจารณาว่าการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ฯ จะก่อให้เกิดอันตราย
หรือต่อความปลอดภัยของบุคคลหนึ่งบุคคลใด จะดำเนินการอย่างไร
ก. ไม่เปิดเผย ข.
ให้คำชี้แจง
ค. ทำคำสั่งมิให้เปิดเผย ง. ไม่รับคำขอ
45.
ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล คำว่าบุคคล หมายถึงข้อใด
ก. บุคคลธรรมดาที่มีสัญชาติไทย ข.
นิติบุคคล
ค. บุคคลธรรมดาที่ไม่มีสัญชาติไทย แต่มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย ง. ถูกเฉพาะ
ข้อ ก และ ค
46.
ผู้มีอำนาจวินิจฉัย อุทธรณ์คำสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารหรือคำสั่ง
ไม่รับคำคัดค้านและคำสั่งไม่ให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือลบข้อมูล คือหน่วยงานใด
ก. คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของทางราชการ
ข. คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
ค. คณะอนุกรรมการที่มีคณะกรรมการข้อมูลข่าวสาร ของราชการแต่งตั้ง
ง. คณะอนุกรรมการที่คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารราชการแต่งตั้ง
47.
ข้อใดไม่ใช่หน่วยงานรัฐตาม พรบ. ข้อมูลข่าวสารราชการ
พ.ศ.2540
ก. กระทรวงศึกษาธิการ ข. คณะกรรมการของสภา
ค. คณะกรรมการการเลือกตั้ง ง. ศาลที่พิจารณาคดี
48.
ข้อมูลของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีคำสั่งมิให้เปิดเผย
เนื่องจากจะก่อให้เกิดอันตรายต่อข้าราชการในสังกัดเมื่อเก็บรักษาไว้แล้วกี่ปี จึงจะส่งข้อมูลดังกล่าวไปเก็บไว้ที่กองจดหมายเหตุแห่งชาติ
ก. ครบ 10 ปี ข.
ครบ 20 ปี ค.
ครบ 25 ปี ง.
ครบ 75 ปี
49.
ใครเป็นประธานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารราชการ
ก. นายกรัฐมนตรี ข. รมต.ประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
ค. รมต.ที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย ง. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
50.
ใครเป็นผู้ลงนามสนองพระบรมราชโองการ
ก. นายกรัฐมนตรี ข.
รมต.ประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
ค. รมต.ที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย ง. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น