พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และ ฉ. 2 (2545) และ ฉ.3 (2553)
1.
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ เป็นไปตามบทบัญญัติใน รธน.
2540 มาตราใด
ก.
29 ข. 40 ค. 50 ง.
81
2.
พรบ.การศึกษาแห่งชาติถือว่าเป็น
ก. กฎหมายแม่บทการจัดการศึกษา ข. แนวทางจัดการศึกษาของรัฐ
ค. การปรับปรุงการศึกษาสอดคล้องรัฐธรรมนูญ ง. การปฏิรูปการศึกษาครั้งใหญ่ของไทย
3.
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ฉบับแรก มีผลบังคับใช้ตั้งแต่เมื่อใด
ก.
19 สิงหาคม 2542 ข. 20 สิงหาคม 2542 ค. 19 ธันวาคม 2545 ง. 20 ธันวาคม
2545
4.
วัตถุประสงค์ของการจัดทำ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ
2542
ก. ปรับปรุงการศึกษาให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม
ข. ปฏิรูปการศึกษาของไทย
ค. พัฒนาคนไทยเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกายจิตใจ
ง. พัฒนาศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
5.
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ สอดคล้องกับข้อใดมากที่สุด
ก. แผนพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมแห่งชาติ
ข. แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ
ค. แผนการศึกษาแห่งชาติ
ง. แผนพัฒนาการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมของกระทรวงศึกษาธิการ
6.
ต่อไปนี้ ข้อใดไม่สอดคล้องคำว่าการศึกษา
ก. การถ่ายทอดความรู้ ข. การฝึกอบรม
ค. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ง. การสืบสานทางวัฒนธรรม
7.
ข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ
คุณภาพที่พึงประสงค์และมาตรฐานที่ต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแห่ง
สอดคล้องกับคำในข้อใด
ก.
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ข.
มาตรฐานการศึกษา
ค.
การประกันคุณภาพภายใน ง.
การประกันคุณภาพภายในอก
8.
ข้อใดต่างจากพวก
ก. ครู ข. คณาจารย์ ค. ผู้บริหารสถานศึกษา ง. ผู้บริหารการศึกษา
9.
ความมุ่งหมายของการจัดการศึกษาตาม พรบ.นี้ได้แก่
ก. ปรับปรุงการศึกษาให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม
ข. ปฏิรูปการศึกษาของไทย
ค. พัฒนาคนให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกายจิตใจ
ง. พัฒนาศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
10.
ข้อใดไม่ใช่หลักการ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ
2542
ก. เป็นการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อปวงชน
ข. เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสำหรับประชาชน
ค. ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
ง. พัฒนา สาระ และกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
11.
ข้อใดไม่สอดคล้องกับการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามความมุ่งหมายของ พรบ.การศึกษา
ก. ปลูกฝังจิตสำนึกการเมือง การปกครองระบอบประชาธิปไตยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
ข. รักษา และส่งเสริมสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ เคารพกฎหมาย
ค. รู้จักรักษาผลประโยชน์ ส่วนรวมของประเทศชาติ
ง. กระจายการพัฒนาไปสู่ชนบทโดยการมีส่วนร่วมของภูมิปัญญาท้องถิ่น
12.
ข้อใดไม่สอดคล้องการจัดระบบโครงสร้างและกระบวนการการจัดการศึกษา
ก. กระจายอำนาจสู่สถานศึกษาทั้งหมด
ข. กำหนดมาตรฐานการศึกษา จัดระบบประกันคุณภาพ
ค. มีหลักการส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพครูคณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
ง. รวมทรัพยากรจากแหล่งต่าง ๆ มาไว้ในการจัดการศึกษา
13.
คำว่า “เอกภาพด้านนโยบาย หลากหลายการปฏิบัติ”
สอดคล้องกับข้อใด
ก. ส่วนกลางกำหนดนโยบาย ส่วนภูมิภาคกำหนดแนวทางปฏิบัติ
ข. กระทรวงกำหนดนโยบายมาตรฐานสนับสนุนเขตพื้นที่และสถานศึกษาบริหารจัดการด้วย
ตนเอง
ค. มีนโยบายเดียวกัน แต่การปฏิบัติหลากหลายวิธี
ง. ถูกทุกข้อ
14.
ต่อไปนี้นี้ ข้อใดไม่มีสิทธิในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก. รัฐ ข. เอกชน ค.
องค์กรปกครองท้องถิ่น ง.
โรงเรียน
15.
ข้อใดไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ บิดามารดา ผู้ปกครอง พึงได้รับในการจัดการศึกษา
ก. การสนับสนุนจากรัฐ ให้ความรู้ความสามารถในการอบรมเลี้ยงดู
ข. การยกเงินภาษีสำหรับค่าใช้จ่ายด้านการศึกษา
ค. เงินอุดหนุนจากรัฐสำหรับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของคนในการดูแล
ง. การให้การศึกษาแก่บุตรหรือบุคคลในการดูแล
16.
จุดที่ต่างกันของการศึกษาระบบต่างๆ ที่สำคัญคือข้อใด
ก. ระยะเวลาที่จัดการศึกษา ข. สถานที่จัดการศึกษา
ค. ตัวผู้เข้ารับการศึกษา ง. จุดหมาย วิธีการ หลักสูตร
17.
ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการศึกษาตามอัธยาศัย
ก. สถานศึกษา ต้องจัดการศึกษา ทั้งในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย
ข. ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจศักยภาพ ความพร้อม โอกาส
ค. จัดการเรียนรู้ทุกที่ ทุกเวลา
ง. ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมเป็นแหล่งเรียนรู้
18.
ต่อไปนี้ ข้อใดไม่ใช่ สถานศึกษาปฐมวัยและการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก. โรงเรียน ข. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ค. ศูนย์พัฒนาชุมชน ง. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์ สถาบันศาสนา
19.
ข้อใดไม่ถูกต้องในด้านการกระจายอำนาจให้เขตพื้นที่และสถานศึกษา
ก. ด้านวิชาการ ข. งบประมาณ
ค. หลักสูตรการสอน ง. การบริหารทั่วไป
20.
ต่อไปนี้ข้อใดไม่ใช่กรรมการโรงเรียน
ก. ผู้แทนครู ข. ผู้แทนองค์กรเอกชน
ค. ผู้แทนศิษย์เก่า ง. ผู้แทนคุณวุฒิ
21.
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีสิทธิ์จัดการศึกษาระดับใด
ก. การศึกษาขั้นพื้นฐาน ข. การศึกษาอุดมศึกษา
ค. การศึกษานอกโรงเรียน ง. ทุกระดับ
22.
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับระบบประกันคุณภาพภายในได้แก่
ก. สถานศึกษาเท่านั้น
ข. สถานศึกษาและเขตพื้นที่
ค. สถานศึกษา เขตพื้นที่ คณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ง. สถานศึกษา เขตพื้นที่ คณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
23.
ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. ให้มีการประเมินคุณภาพภายนอกครั้งแรกใน 5 ปี
ข. สำนักงานรับรองมาตรฐานมีฐานะเป็นองค์กรมหาชน
ค. การประเมินผลคำนึงถึงความมุ่งหมายและหลักการจัดการศึกษา
ง. เสนอผลประเมินต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน
24.
หลักการจัดการศึกษาข้อใด ไม่สอดคล้องตาม พรบ.
ก. ผู้เรียนทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้
ข. ครูต้องมีจิตสำนึกที่จะพัฒนาเด็กอย่างเต็มความสามารถ
ค. ผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด
ง. ต้องส่งเสริมผู้เรียนพัฒนาตามศักยภาพ
25. การจัดการศึกษาสาหรับคนพิการข้อใดที่ไม่ถูกต้อง
ก. ให้จัดตั้งแต่แรกเกิดหรือพบความพิการ
ข. มีสิทธิได้รับสิ่งอานวยความสะดวก สื่อ บริการและความช่วยเหลืออื่น
ค. โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
ง. อายุย่างเข้าปีที่เจ็ด จนถึงย่างเข้าปีที่สิบหก
26. สิทธิประโยชน์ที่ผู้จัดการศึกษาจะพึงได้รับ
ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. การสนับสนุนจากรัฐ
ข. เงินอุดหนุนจากรัฐสาหรับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ค. การลดหย่อนภาษีทั่วไป
ง. การยกเว้นภาษีสาหรับค่าใช้จ่ายการศึกษาตามที่กฎหมายกาหนด
27.
การศึกษาในระบบมีกี่ระดับ ข้อใดถูกที่สุด
ก. 2 ระดับคือ การศึกษาภาคบังคับและการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข. 2 ระดับคือ การศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษาอุดมศึกษา
ค. 3 ระดับคือ ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา
ง. 4 ระดับคือ ก่อนประถมศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาและอุดมศึกษา
28. ข้อใดไม่ใช่สถานศึกษาในการจัดการศึกษาปฐมวัยและการศึกษาขั้นพื้นฐานตาม
พรบ.
ก. สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ข. โรงเรียน
ค. ศูนย์การเรียน ง.
วิทยาลัย
29. การจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพอยู่ในมาตราใดของ
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ
ก. มาตรา 22 ข.
มาตรา 23
ค. มาตรา 24 ง.
มาตรา 25
30.
ข้อใดสำคัญที่สุดเกี่ยวกับหลักสูตร
ก. พัฒนาคุณภาพชีวิตบุคคลให้เหมาะสมกับวัยตามศักยภาพ
ข. สอดคล้องความต้องการชุมชน
ค. คำนึงถึงภูมิปัญญาท้องถิ่น
ง. เหมาะสมกับความจริงก้าวหน้าด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
31.
ต่อไปนี้ ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. การศึกษาขั้นพื้นฐาน หมายความว่าการศึกษาก่อนระดับอุดมศึกษา
ข. ผู้สอน หมายความว่าครูและคณาจารย์ในสถานศึกษาระดับต่างๆ
ค. กระทรวง หมายความว่ากระทรวงการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมแห่งชาติ
ง. ครู หมายความว่าบุคลากรวิชาชีพซึ่งทำหน้าที่หลักทางด้านการเรียนการสอนและส่งเสริม
การเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีการต่างๆ ในสถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน
32.
ข้อใดไม่หลักการจัดการศึกษาตาม พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.
2542
ก. เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสำหรับประชาชน
ข. ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
ค. การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
ง. การจัดการศึกษาสำหรับบุคคลซึ่งมีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์สังคม
33. ข้อใดเป็นหัวใจสำคัญของระบบการประกันคุณภาพภายใน
ก. ดำเนินการโดยหน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษา
ข. เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา
ค. มีการจัดทำรายงานประจาปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชน
ง. เพื่อพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา
34.
รัฐต้องดำเนินการตามข้อใดเป็นอันดับแรก
ก. จัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนำ และโครงสร้างพื้นฐานอื่นที่จำเป็น
ข. สนับสนุนให้มีการผลิตและพัฒนาโดยเปิดให้มีการแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรม
ค. ผู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนาขัดความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
ง. ตั้งกองทุน ICT
3ถ.
ให้รัฐจัดสรรงบประมาณแผ่นดินให้กับการศึกษาในข้อใดเป็นอันดับแรก
ก. เป็นค่าใช้จ่ายรายบุคคลแก่ผู้เรียนการศึกษาภาคบังคับและการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข. กองทุนกู้ยืมเรียนให้แก่ผู้ที่มาจากครอบครัวที่มีรายได้น้อย
ค. สาหรับผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ
ง. ค่าใช้จ่ายดำเนินการและงบลงทุน
3. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2542ไม่ได้กำหนดให้หน่วยงานใดมีสิทธิจัดการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน
ก. หน่วยงานหรือสถานศึกษาของรัฐและเอกชน
ข. มหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชน
ค. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ง. องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา และสถานประกอบการ
37.
การจัดระบบโครงสร้างและกระบวนการจัดการศึกษาให้ยึดหลักอะไรบ้าง
ก. มีเอกภาพด้านนโยบายและหลากหลายในการปฏิบัติ
ข. มีการกระจายอำนาจไปสู่เขตพื้นที่การศึกษา
ค. ระดมทรัพยากรจากแหล่งต่างๆ มาใช้ในการจัดการศึกษา
ง. ถูกทั้ง ก ข และ ค
38.
ใครมีอำนาจประกาศกำหนดเขตพื้นที่การศึกษาเพื่อการบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก.
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ข.
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ โดยคำแนะนำของสภาการศึกษา
ค.
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ โดยคำแนะนำของ
สพฐ.
ค.
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ โดยคำแนะนำของ
กค.ศ.
39. การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ยึดเขตพื้นที่การศึกษา ยกเว้นการศึกษาตามข้อใด
ก. การศึกษานอกระบบ
ข. การศึกษาตามอัธยาศัย
ค. การศึกษาขั้นพื้นฐานตามกฎหมายว่าด้วยอาชีวศึกษา
ง. การศึกษาตลอดชีวิต
40. ในกรณีที่สถานศึกษาใดจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานทั้งระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษา
การกำหนดให้สถานศึกษาแห่งนั้นอยู่ในเขตพื้นที่การศึกษาใด
ให้ยึดระดับการศึกษาของสถานศึกษานั้นเป็นสำคัญ ทั้งนี้ ตามที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดโดยคำแนะนำของใคร
ก.
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ข.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
ค.
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ง.
คณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
41. การกำหนดและแบ่งเขตพื้นที่การศึกษาโดยคำนึงถึงอะไร
ก. ระดับของการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข.จำนวนสถานศึกษา
จำนวนประชากร
วัฒนธรรมและความเหมาะสมด้านอื่นด้วย ง.
ถูกทุกข้อ
42.
ในกรณีที่เขตพื้นที่การศึกษาไม่อาจบริหารและจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานทั้งระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษาได้ กระทรวงอาจจัดให้มีการศึกษาขั้นพื้นฐานดังต่อไปนี้เพื่อเสริมการบริหารและ
การจัดการของเขตพื้นที่การศึกษา ยกเว้นข้อใด
ก. การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสำหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางร่างกาย
จิตใจ สติปัญญา
อารมณ์ สังคม การสื่อสารและการเรียนรู้
หรือมีร่างกายพิการหรือทุพพลภาพ
ข. การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานที่จัดในรูปแบบการศึกษานอกระบบหรือการศึกษา
ตามอัธยาศัย
ค. การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสำหรับบุคคลที่มีความสามารถพิเศษ
และการจัดการศึกษา
ทางไกล และการจัดการศึกษาที่ให้บริการในหลายเขตพื้นที่การศึกษา
ง. ถูกทุกข้อ
43.
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 บังคับใช้เมื่อใด
ก. 12
กรกฎาคม 2553 ข. 13 กรกฎาคม
2553
ค. 22
กรกฎาคม
2553 ง.
23 กรกฎาคม 2553
44.
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 ให้ยกเลิกความในมาตราใด
แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2542 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
(ฉบับที่ 2) พ.ศ.
2545
ก มาตรา 2 ข.
มาตรา 3 ค. มาตรา 37 ง. มาตรา 38
45. มาตราตามข้อ 36
ว่าด้วยเรื่องอะไร
ก. การแบ่งเขตพื้นที่การศึกษาระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษา
ข.การกระจายอำนาจไปยังเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา
ค. การให้มีคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ง. การให้ สมศ.ทำข้อเสนอแนะ การปรับปรุงแก้ไข
แก่หน่วยงานต้นสังกัด กรณีสถานศึกษา
ไม่ได้ตามมาตรฐานที่กำหนด
46. เหตุผลใดที่ประกาศใช้พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545
ก. รัฐบาลมีนโยบายปฎิรูประบบราชการ ข. จัดตั้งกระทรวงวัฒนธรรมใหม่
ค. ให้มีคณะกรรมการอาชีวการศึกษา ง.
ถูกทุกข้อ
47.
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ประกาศใช้เมื่อใด
ก. 8 ธันวาคม 2545 ข. 9 ธันวาคม 2545
ค. 19
ธันวาคม 2545 ง. 20 ธันวาคม 2545
48. ข้อใดเป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงศึกษาธิการ
ก. ส่งเสริม
และกำกับดูและการศึกษาทุกระดับทุกประเภท
ข. กำหนดนโยบาย แผน
และมาตรฐานการศึกษา
ค.
สนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา
ง. ถูกทุกข้อ
49.
การจัดระเบียบบริหารราชการในกระทรวง จัดให้มีองค์กรหลักที่เป็นคณะบุคคลในรูปสภาหรือในรูปคณะกรรมการ จำนวนกี่องค์กร
ก. 4 ข.
5 ค. 6 ง. 7
51. ข้อใดไม่ใช่องค์กรหลักตามข้อ 41
ก.
คณะกรรมการการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ข.
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ค.
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ง. คณะกรรมการการอุดมศึกษา
54. หน่วยงานใดมีอำนาจหน้าที่เสนอแผนการศึกษา
ก. สภาการศึกษา ข.
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ค.
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ง.
คณะกรรมการการอุดมศึกษา
53. หน่วยงานใดมีอำนาจหน้าที่ในการกำหนดมาตรฐานการศึกษา
ก. สภาการศึกษา ข.
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ค.
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ง.
คณะกรรมการการอุดมศึกษา
54. นโยบาย แผนการศึกษาแห่งชาติและมาตรฐานการศึกษา
ต้องเสนอหน่วยงานก่อนประกาศใช้
ก. นายรัฐมนตรี ข.
คณะรัฐมนตรี
ค.
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ง.
สภาการศึกษา
55. คณะกรรมการสภาการศึกษามีทั้งหมดกี่คน
ก. ไม่เกิน 27 คน ข.
27 คน ค. ไม่เกิน 32 คน ง. 59 คน
56.
ใครเป็นกรรมการและเลขาธิการคณะกรรมการสภาการศึกษา
ก.
เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ข.
เลขาธิการคณะกรรมการอุดมศึกษา
ค. เลขาธิการคณะกรรมการอาชีวิศึกษา ง. เลขาธิการสภาการศึกษา
57.
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมีทั้งหมดกี่คน
ก. ไม่เกิน 27 คน ข. 27 คน ค.
ไม่เกิน 32 คน ง.
59 คน
58. คณะกรรมการอุดมศึกษามีทั้งหมดกี่คน
ก. ไม่เกิน 27 คน ข.
27 คน ค. ไม่เกิน 32 คน ง. 59 คน
59. คณะกรรมการอาชีวศึกษามีทั้งหมดกี่คน
ก. ไม่เกิน 27 คน ข.
27 คน ค. ไม่เกิน 32 คน ง. 59 คน
60. ใครเป็นกรรมการและเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก.
เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ข. เลขาธิการคณะกรรมการอุดมศึกษา
ค. เลขาธิการคณะกรรมการอาชีวิศึกษา ง. เลขาธิการสภาการศึกษา
61. ใครเป็นกรรมการและเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ก.
เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ข.
เลขาธิการคณะกรรมการอุดมศึกษา
ค.
เลขาธิการคณะกรรมการอาชีวิศึกษา
ง. เลขาธิการสภาการศึกษา
62. ใครเป็นกรรมการและเลขาธิการคณะกรรมการการอดุมศึกษา
ก.
เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ข. เลขาธิการคณะกรรมการอุดมศึกษา
ค. เลขาธิการคณะกรรมการอาชีวิศึกษา ง. เลขาธิการสภาการศึกษา
63. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการเป็นประธานในคณะกรรมการชุดใด
ก. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ข.
คณะกรรมการอุดมศึกษา
ค. คณะกรรมการอาชีวิศึกษา ง.
คณะกรรมการสภาการศึกษา
64. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับคณะกรรมการสภาการศึกษา
ก.
วาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 4 ปี
แต่จะดำรงตำแหน่งติดต่อกันเกิน 2 วาระไม่ได้
ข. พ้นตำแหน่งก่อนครบวาระ
ให้ดำเนินการสรรหาและแต่งตั้งภายใน 60 วัน
ค. พ้นตำแหน่งตามวาระ
ให้ดำเนินการสรรหาและแต่งตั้งภายใน 60 วัน
ง. ถูกทุกข้อ
65. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก.
วาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 4 ปี
แต่จะดำรงตำแหน่งติดต่อกันเกิน 2 วาระไม่ได้
ข. พ้นตำแหน่งก่อนครบวาระ
ให้ดำเนินการสรรหาและแต่งตั้งภายใน 60 วัน
ค. พ้นตำแหน่งตามวาระ
ให้ดำเนินการสรรหาและแต่งตั้งภายใน 60 วัน
ง. ถูกทุกข้อ
66. กรรมการตามข้อใดไม่อยู่ในคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก. ผู้แทนองค์กรเอกชน ข. ผู้แทนองค์กรวิชาชีพ
ค. ผู้แทนศิษย์เก่า ง.
ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
67.
หน่วยงานใดมีหน้าที่เสนอมาตรฐานและหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก. สภาการศึกษา ข.
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ค.
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ง.
คณะกรรมการการอุดมศึกษา
68.
หน่วยงานใดมีหน้าที่จัดการศึกษาโดยคำนึงถึงคุณภาพและความเป็นเลิศทางวิชาการ
ก. สภาการศึกษา ข. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ค.
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ง.
คณะกรรมการการอุดมศึกษา
69.
หน่วยงานใดมีหน้าที่จัดการศึกษาโดยคำนึงถึงความเป็นอิสระและความเป็นเลิศทางวิชาการ
ก. สภาการศึกษา ข. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ค.
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ง.
คณะกรรมการการอุดมศึกษา
70. คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาเกิดขึ้นตาม พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.
2542 และแก้ไขเพิ่มเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2545 ตามมาตรใด
ก มาตรา 37 ข.
มาตรา 38 ค. มาตรา 39 ง.
มาตรา 40
71. กระทรวงกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา
ไปยังคณะกรรมการและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
และสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาโดยตรง เป็นไปตามาตรใด
ก มาตรา 37 ข.
มาตรา 38 ค. มาตรา 39 ง.
มาตรา 40
72. ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
ก. กำกับ ดูแล จัดตั้ง ยุบ รวม
หรือเลิกสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในเขต
ข. ประสาน
ส่งเสริมและสนับสนุนสถานศึกษาเอกชนในเขตพื้นที่การศึกษา
ค. ประสาน
ส่งเสริมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้สามารถจัดการศึกษาสอดคล้องกับนโยบายและมาตรฐานการศึกษา
ง. ถูกทุกข้อ
73. การจัดการส่งเสริมการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นภารกิจขององค์กรใด
ก. สำนักงานปลัดกระทรวง ข. สำนักงานเลขาธิการสภาศึกษา
ค. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ง. สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
74.
การดำเนินการเกี่ยวกับกฎหมายการศึกษาแห่งชาติ เป็นภารกิจขององค์กรใด
ก. สำนักงานปลัดกระทรวง ข.
สำนักงานเลขาธิการสภาศึกษา
ค. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ง. สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
75. ข้อใดไม่ใช่อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการและสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ก. กากับ ดูแลจัดตั้ง ยุบรวมหรือเลิกสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข. ประสานส่งเสริมและสนับสนุนสถานศึกษาเอกชน
ค. ประสานและส่งเสริมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ง. ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
76. ข้อใดไม่ใช่อำนาจหน้าที่ของสถานศึกษาหรือผู้อำนวยการสถานศึกษา
ก. การบริหารการของสถานศึกษาให้เป็นไปตามกฎหมาย นโยบายและวัตถุประสงค์ฯ
ข. ควบคุมดูแลบุคลากรการเงิน พัสดุ สถานที่และทรัพย์สินอื่นของสถานศึกษา
ค. การทำนิติกรรมสัญญาตามวงเงินงบประมาณที่สถานศึกษาได้รับ
ง. อนุมัติประกาศนียบัตรของสถานศึกษาตามระเบียบที่คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษากำหนด
77. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีองค์ประกอบในข้อใดที่เหมือนกับคณะกรรมการชุดอื่น
ก. ผู้แทนองค์กรเอกชน ข. ผู้แทนศิษย์เก่า
ค. ผู้แทนพระภิกษุสงฆ์ ง. ผู้ทรงคุณวุฒิ
78. องค์ประกอบใดมีอยู่ในคณะกรรมการชุดอื่นตรม
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ทุกชุด
ก.
ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ข.
ผู้แทนองค์กรวิชาชีพ
ค. ผู้แทนองค์กรเอกชน ง.
ผู้แทนองค์กรชุมชน
79. .
ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
ก ผู้แทนองค์กรชุมชน ข.
ผู้แทนผู้ประกอบวิชาชีพครู
ค.
ผู้แทนสมาคมผู้ปกครองและครู ง. ผู้แทนศิษย์เก่า
80.
.ใครเป็นกรรมการและเลขานุการคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
ก. ผ.อ. สพท. ข.
รอง ผ.อ.สพท.ที่ ผ.อ.สพท.มอบหมาย
ค.
ผู้ที่คณะกรรมการเห็นชอบในการประชุม ง.
ผ.อ.กลุ่มงานนโยบายและแผน
81. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก ผู้แทนองค์กรชุมชน ข.
ผู้แทนองค์กรเอกชน
ค. ผู้แทนผู้ปกครอง ง.
ผู้แทนศิษย์เก่า
82. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีอำนาจหน้าที่ตามข้อใด
ก. กำหนดนโยบายและแผนพัฒนา ข. กำกับส่งเสริมสนับสนุนกิจการของสถานศึกษา
ค. ประสานส่งเสริมสนับสนุนการศึกษาเอกชน ง.
สนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา
83.
ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ กำหนดสิทธิในการรับ79. การศึกษาสำหรับคนพิการในเรื่องใด
ก. สิ่งอำนวยความสะดวก ข. สื่อ บริการ
ค. ความช่วยเหลืออื่นใด ง. ถูกทุกข้อ
84.
จากข้อ 31 รัฐต้องให้ความช่วยเหลือเป็นกี่เท่าของเงินทุนด้านสื่อและวัสดุการศึกษาที่จัดสรรให้แก่เด็กนักเรียนทั่วไปต่อคน
ก. ไม่เกิน 2 เท่า ข. ไม่เกิน
3 เท่า ค.
ไม่เกิน 4 เท่า ง. ไม่เกิน 5
เท่า
พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545 และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
1.
การจัดการศึกษาระดับประถมศึกษาโดยปกติใช้เวลาเรียนกี่ปี
ก.
4 ปี ข. 6 ปี ค. 9 ปี ง. 12 ปี
2.
การนับอายุเด็กเพื่อเข้ารับการศึกษาภาคบังคับในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานให้นับตามข้อใด
ก. ครบเจ็ดปีในปีใดนับเด็กอายุย่างเข้าปีที่เจ็ดในปีนั้น ข. นับตามปีงบประมาณ
ค. นับตามปีปฏิทิน ง. ข้อ ก และ ค ถูกต้อง
3.
การจัดการศึกษาระดับใดเป็นการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ
ให้เป็นกำลังแรงงานที่มีฝีมือหรือการศึกษาต่อระดับในระดับอาชีพชั้นสูงต่อไป
ก. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ข. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายประเภทสามัญศึกษา
ค. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายประเภทอาชีวศึกษา
ง. ระดับที่ต่ำกว่าปริญญา
4.
การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานแบ่งได้เป็นสามระดับยกเว้นข้อใด
ก. ระดับก่อนประถมศึกษา ข. ระดับประถมศึกษา
ค. ระดับมัธยมศึกษา ง. ระดับก่อนอุดมศึกษา
5.
การจัดการศึกษาเพื่อวางรากฐานชีวิตและการเตรียมความพร้อมของเด็กทั้งร่างกายและจิตใจ
สติ
ปัญญาอารมณ์ บุคลิกภาพและการอยู่ร่วมกันในสังคม
ก. การศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา ข.
การศึกษาระดับประถมศึกษา
ค. การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ง. การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
6.
การจัดการศึกษาเพื่อมุ่งวางรากฐานเพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ทั้งด้านคุณธรรมจริยธรรม
ด้านความรู้ความสามารถขั้นพื้นฐานหมายถึงการจัดการศึกษาระดับใด
ก. ระดับก่อนประถมศึกษา ข. ระดับประถมศึกษา
ค. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ง. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
7.
การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนตามความถนัดความสนใจ ศักยภาพและความสามารถพิเศษเฉพาะด้าน
เพื่อเป็นพื้นฐานสำหรับการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา
ก. ระดับประถมศึกษา
ข. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ค. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายประเภทสามัญศึกษา
ง. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายประเภทอาชีวศึกษา
8.
เด็กจะเข้าเรียนการศึกษาภาคบังคับในปีการศึกษา 2558 จะต้องเป็นเด็กที่เกิดในปี พ.ศ.ใด
ก.
2551 ข. 2552 ค. 2553 ง. 2554
9.
เด็กจบการศึกษาภาคบังคับในสถานศึกษาสังกัด สพท. หมายถึงเด็กจบชั้นใด
ก. ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ข. ชั้นประถมศึกษาปีที่ 9
ค. ชั้นปีที่ 9 ง. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
10.
ใครมีอำนาจอนุญาตผ่อนผันเด็กเข้าเรียนก่อนหรือหลังอายุตามเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับ
ก. ผู้อำนวยการสถานศึกษา ข. ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ค. ผู้อำนวยการกองการศึกษาเทศบาล ง. ถูกทุกข้อ
11.
บุคคลที่มีหน้าที่เข้าไปตรวจสอบการเข้าเรียนของเด็กการศึกษาภาคบังคับในสถานที่ใดๆ
ก. ผู้อำนวยการสถานศึกษา ข. ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ค. พนักงานเจ้าหน้าที่ ง. ทั้งข้อ ก ข และ ค
12.
จากข้อ 11 ต้องดำเนินการอย่างไร
ก. เข้าไปตรวจสอบระหว่างเวลาพระอาทิตย์ขึ้นจนถึงพระอาทิตย์ตก
ข. ต้องแสดงบัตรประจำตัวแก่บุคคลที่เกี่ยวข้อง
ค. จัดให้มีการบันทึกข้อมูลหรือบันทึกอนุญาตการตรวจสอบ
ง. ถูกทุกข้อ
13.
ผู้ที่ไม่ใช่ผู้ปกครองที่มีเด็กอายุในเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับอาศัยอยู่ด้วย
ต้องแจ้งต่อสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาภายในกี่วัน นับจากวันที่มีเด็กอาศัยอยู่ด้วย
ก.
15 วัน ข. 30 วัน ค. 45 วัน ง. 60 วัน
14.
กรณีที่ต้องถูกระวางโทษปรับมากที่สุดคือ กรณีใด
ก. ผู้ปกครองไม่ส่งเด็กเข้าเรียน
ข. ไม่อำนวยความสะดวกให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่
ค. ไม่แจ้งสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรณีที่ไม่ใช่ผู้ปกครองและมีเด็กภาคบังคับอาศัยอยู่ด้วย
ง. ถูกระวางโทษเท่ากันคือ ไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
11.
อายุสำหรับเด็กการศึกษาภาคบังคับ
ก. ย่างเข้าปีที่ 6 - ย่างเข้าปีที่ 16 ข. ย่างเข้าปีที่ 7 - ย่างเข้าปีที่ 16
ค. ย่างเข้าปีที่ 6 - ย่างเข้าปีที่ 17 ง. ย่างเข้าปีที่ 7 - ย่างเข้าปีที่ 17
12.
บุคคลใดต่อไปนี้ มิใช่พนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ
ก. ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ข. ปลัดอำเภอในกรณีที่ท้องที่นั้นมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดการศึกษา
ค. ผู้บริหารสถานศึกษา
ง. กำนันผู้ใหญ่บ้าน
13.
บุคคลที่มีอำนาจในการออกบัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติการศึกษา
ภาคบังคับ คือใคร
ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ข.
ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ค. ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ง. ผู้ว่าราชการจังหวัด
14.
หากผู้บริหารในฐานะที่เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ
จะทำบัตร
ประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่จะต้องยื่นทำบัตรต่อใคร
ก. ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ข. ผู้บริหารสถานศึกษาออกเอง
ค. เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ง. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
15.
ใครมีหน้าที่ประกาศรายละเอียดเกี่ยวกับการส่งเด็กเข้าเรียนในสถานศึกษาและการจัดสรรโอกาสเข้าศึกษาต่อระหว่างสถานศึกษาที่อยู่ในเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับ
ก. ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ข. คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
ค. ผู้อำนวยการสถานศึกษา ง.
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
16. ข้อใดเป็นสถานที่ปิดประกาศเกี่ยวกับการส่งเด็กเข้าเรียน
ก.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ข.
สำนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ค. สถานศึกษา ง. ถูกทุกข้อ
17.
หน่วยงานที่ประกาศเกี่ยวกับการส่งเด็กเข้าเรียนในสถานศึกษาและการจัดสรรโอกาสเข้าศึกษาต่อระหว่างสถานศึกษาที่อยู่ในเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับ
และต้องแจ้งให้หนังสือผู้ปกครองทราบก่อน
เข้าเรียนภายในระยะเวลาเท่าไร
ก. ไม่น้อยกว่า 3 เดือน ข. ไม่น้อยกว่า 6 เดือน
ค. ไม่น้อยกว่า
10 เดือน ง.
ไม่น้อยกว่า 1 ปี
18.
ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการผ่อนผันเด็กเข้าเรียน
ก มี 2 ประเภท
คือผ่อนผันก่อนและหลังอายุย่างเข้าปีที่เจ็ด
ข.
เด็กป่วยเป็นโรคติดต่อร้ายแรงไม่สามารถเข้าเรียนได้
ค.กรณีมีเหตุจำเป็นหรือเหตุสุดวิสัย
ง. ถูกทุกข้อ
19.
ข้อใดไม่ใช่คณะกรรมการเพื่อพิจารณาการผ่อนผันของสถานศึกษา
ก. ครูผู้สอนชั้น ป.1 ข.
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสองคน
ค.
รองผู้อำนวยการสถานศึกษา ง.
ครูผู้สอน ป.6
20. ข้อกล่าวไม่ถูกต้อง
ก.
ผู้ปกครองส่งเด็กเข้าเรียนในวันแรกของการเปิดเรียนภาคต้น
ข.
ถ้าผู้ปกครองไม่ส่งเด็กเข้าเรียนภายในเจ็ดวัน ให้สถานศึกษาแจ้งเตือนผู้ปกครอง
ค. ให้สถานศึกษารายงานไปยังสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ง.
คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาเมื่อได้รับรายงานจากสถานศึกษาแล้ว ให้ทำหนังสือแจ้งเตือนผู้ปกครองให้ส่งเด็กเข้าเรียนในสถานศึกษาทันที
21. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก.
หยุดเรียนเกินเจ็ดวันในหนึ่งเดือน
ให้สถานศึกษามีหนังสือแจ้งให้ผู้ปกครองส่งเด็กเข้าเรียนโดยพลัน
ข.
หยุดเรียนติดต่อกันเกินห้าวัน ให้สถานศึกษามีหนังสือแจ้งให้ผู้ปกครองส่งเด็กเข้าเรียนโดยพลัน
ค.
ถ้าผู้ปกครองไม่ส่งเด็กเข้าเรียน ตามข้อ ก และ ข
สถานศึกษาต้องรายงานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ง.
ถ้าผู้ปกครองไม่ส่งเด็กเข้าเรียนต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
22. นายสมชายต้องการย้ายบุตรที่กำลังเรียนอยู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
จากโรงเรียนอนุบาลไปยังโรงเรียนศรีสมเด็จ
นายสมชายจะต้องยื่นเอกสารใดต่อโรงเรียนอนุบาล
ก. แบบ บค.19 ข.
แบบ บค. 20
ค. แบบ บค. 21 ง. แบบ บค
22
23.
โรงเรียนอนุบาลจะต้องส่งแบบฟอร์มใดไปยังสำนักงานเขตพื้นที่เพื่อขอจำหน่าย
ก. แบบ บค.19 ข.
แบบ บค. 20
ค. แบบ บค. 21 ง.
แบบ บค 22
24.
โรงเรียนอนุบาลจะต้องส่งแบบฟอร์มใดแจ้งไปยังโรงเรียนศรีสมเด็จ
ก. แบบ บค.19 ข.
แบบ บค. 20
ค. แบบ บค. 21 ง.
แบบ บค 22
25.
เมื่อโรงเรียนศรีสมเด็จได้รับนักเรียนแล้ว จะรายงานผลการรับนักเรียนไปยัง สพท.ด้วยแบบพร้อมใด
ก. แบบ บค.19 ข.
แบบ บค. 20
ค. แบบ บค. 21 ง.
แบบ บค 22
26.
เมื่อโรงเรียนศรีสมเด็จได้รับนักเรียนแล้ว
จะแจ้งผลการรับนักเรียนต่อโรงเรียนอนุบาลใช้แบบใด
ก. แบบ บค.19 ข.
แบบ บค. 20
ค. แบบ บค. 21 ง.
แบบ บค 23
กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและกฎหมายที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
(ที่เป็นนิติบุคคล)
1.
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.
2542 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2545 กำหนดให้กระทรวงกระจายอำนาจการบริหารด้านวิชาการ งบประมาณการบริหารงานบุคคลและการบริหารงานทั่วไปไปยังข้อใดโดยตรง
ก. คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา ข. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ค. สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ง. ถูกทุกข้อ
2.
หน่วยงานใดต่อไปนี้ไม่มีฐานะเป็นนิติบุคคล
ก. กระทรวงศึกษาธิการ ข. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ค. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ง.
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
3.
กฎหมายตามข้อใดที่กำหนดว่าสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดเขตพื้นที่การศึกษามีฐานะเป็นนิติบุคคล
ก. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ข. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
ค. พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
ง. กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
4.
ความเป็นนิติบุคคลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสิ้นสุดเมื่อใด
ก. เมื่อมีการทำผิดระเบียบ กฎหมาย ข. เมื่อมีการยุบกระทรวง ทบวง กรม
ค. เมื่อมีการยุบเลิกสถานศึกษา ง. เมื่อมีการยุบรวมสถานศึกษา
5.ข้อใด คือลักษณะของการบริหารงานหน่วยงานที่เป็นนิติบุคคล
ก. มีความอิสระ คล่องตัว ข. สะดวก รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ
ค. บริหารจัดการเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว ง. ถูกทุกข้อ
6.
ตามระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจัดอยู่ในส่วนใดของโครงสร้างระเบียบบริหารกระทรวงฯ
ก. ระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง ข. ส่วนภูมิภาค
ค. เขตพื้นที่การศึกษา ง. สถานศึกษาของรัฐที่เป็นนิติบุคคล
7.
ความเป็นนิติบุคคลของสถานศึกษาสอดคล้องกับข้อใด
ก. สถานศึกษาสามารถกู้เงินธนาคารมาปรับปรุงกิจการของสถานศึกษาได้
ข. สถานศึกษาสามารถจำนอง ขายที่ดินที่มีผู้บริจาคให้ได้
ค. สถานศึกษาสามารถดำเนินธุรกิจควบคู่กับจัดการศึกษาได้
ง. สถานศึกษาสามารถจัดทำ บริหาร เบิกจ่ายงบประมาณตามระเบียบกระทรวงการคลังได้
8.
ตำแหน่งที่เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก. ผู้บริหารสถานศึกษา ข. ผู้อำนวยการสถานศึกษา
ค. ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ง. ข้อ ข และ ค ถูกต้อง
9.
ข้อใดเป็นบทบาทอำนาจหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคล
ก. เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสถานศึกษา
ข. บริหารกิจการสถานศึกษาด้านวิชาการงบประมาณ งานบุคคลและงานบริหารทั่วไป
ค. เป็นผู้แทนนิติบุคคลของสถานศึกษา
ง. ถูกทุกข้อ
10.
ข้อใดไม่ใช่บทบาท อำนาจหน้าที่ด้านวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา
ก. การจัดกระบวนการเรียนรู้และประเมินผลผู้เรียน
ข. การจัดระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ค. การพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ง. การจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิการ ด้อยโอกาส
11.
การบริหารงานบุคคลสำหรับข้าราชการครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานให้เป็นไปตามกฎหมายใด
ก. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
ข. พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
ค. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ ศธ.
ง. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
12.
ข้อใดไม่ใช่อำนาจหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานด้านบริหารงานบุคคล
ก. จัดทำรายงานประจำปีต่อคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
ข. พิจารณาความดีความชอบของข้าราชการครูและบุคลากรในสถานศึกษา
ค. จัดทำมาตรฐาน ภาระงานสำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ง. สั่งให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษารักษาการในตำแหน่งที่ว่าง
13.
การอนุมัติออกใบประกาศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดอยู่ในบทบาทอำนาจหน้าที่ด้านใดของ
ผู้บริหารสถานศึกษา
ก. ด้านวิชาการ ข. ด้านบริหารทั่วไป
ค. ด้านวิชาการ ด้านบริหารบุคคล ง. ด้านวิชาการ
ด้านบริหารทั่วไป
14.
ข้อใดต่อไปนี้เป็นอำนาจหน้าที่ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคล
ก. สถานศึกษาต้องรับผิดชอบทางแพ่งจากการละเมิดบุคคลอื่น ซึ่งเกิดจากการปฏิบัติหน้าที่
ของผู้บริหารสถานศึกษา
ข. สถานศึกษาต้องให้การศึกษาแก่ประชาชนเพราะถือว่าเป็นบริการสาธารณะ
ค. สถานศึกษาต้องไม่จำกัดสิทธิ เสรีภาพของบุคคลที่รัฐธรรมนูญรับรองไว้
ง. ถูกทุกข้อ
15.
หากพิจารณาตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการแล้ว
ตำแหน่งใดต่อไปนี้ไม่ได้มอบอำนาจให้ผู้อำนวยการสถานศึกษาปฏิบัติราชการแทน
ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ข. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ค. เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ง. เฉพาะข้อ ก และ ข
16.
ผู้อำนวยการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สามารถมอบอำนาจให้ผู้ใดปฏิบัติราชการแทนได้
ก. รองผู้อำนวยการสถานศึกษา ข. ครูที่ทำหน้าที่หัวหน้ากลุ่มบริหารงานบุคคล
ค. บุคลากรทางการศึกษาอื่นในสถานศึกษา ง. ถูกทุกข้อ
17.
ข้อควรคำนึงสำหรับผู้อำนวยการสถานศึกษาที่จะมอบอำนาจให้ผู้อื่นปฏิบัติราชการแทน
ก. ความสะดวก รวดเร็ว ประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ
ข. มอบแล้วยังต้องกำกับ ติดตามผลการปฏิบัติงานนั้น
ค. ช่วยเหลือ แนะนำ แก้ไขการปฏิบัติงานให้ถูกต้องของผู้รับมอบอำนาจนั้น
ง. ถูกทุกข้อ
18.
การมอบอำนาจให้บุคคลอื่นปฏิบัติราชการแทนตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวง
ศึกษาธิการนั้น ผู้รับมอบจะมอบอำนาจให้ผู้อื่นปฏิบัติไม่ได้ ยกเว้นบุคคลใด
ก. เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข. ผู้ว่าราชการจังหวัด
ค. ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ง. ผู้อำนวยการสถานศึกษา
19.
การบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคลต้องใช้หลัก
"ธรรมาภิบาล" ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่
หลักการดังกล่าว
ก. หลักนิตินัย ข. หลักความโปร่งใสตรวจสอบได้
ค. หลักคุณธรรม และการมีส่วนร่วม ง. หลักความประหยัดและคุ้มค่า
20.
การวางแผนอัตรากำลังของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจัดเป็นภารกิจในกลุ่มใดของสถานศึกษา
ก. กลุ่มบริหารงานวิชาการ ข. กลุ่มบริหารงานบุคคล
ค. กลุ่มบริหารงบประมาณ ง. กลุ่มบริหารงานทั่วไป
21.
ข้อใดคือแนวทางการแบ่งส่วนราชการในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก. ต้องสอดคล้องกับภารกิจหลักและรองรับการกระจายอำนาจการจัดการศึกษา
ข. มีความเป็นเอกภาพในทางการบริหาร มีความยืดหยุ่นพร้อมต่อการปรับเปลี่ยน
ค. มุ่งผลสัมฤทธิ์ตามภารกิจ ความคุ้มค่าและลดขั้นตอนการบริหาร
ง. ถูกทุกข้อ
22.
ให้แบ่งส่วนราชการในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตามข้อใด
ก. แบ่งเป็นกลุ่ม ข. แบ่งเป็นศูนย์ ค. แบ่งเป็นงาน ง. แบ่งเป็นกลุ่มงาน
23.
ใครเป็นผู้ให้ความเห็นชอบในการแบ่งส่วนราชการในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ข. คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
ค. อ.ก.ค.ศ.
เขตพื้นที่การศึกษา ง. คณะกรรมการสถานศึกษา
24.
การกระจายอำนาจไปยัง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรือสถานศึกษาให้ทำเป็นหนังสือระบุอำนาจที่กระจายให้อย่างชัดเจน
โดยหากเป็นเรื่องที่ไม่ใช่งานประจำและเป็นการดำเนินการต้องใช้อำนาจพิจารณาและมีดุลยพินิจ
ให้กระจายอำนาจไปยังผู้ใด
ก. คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา ข. ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ค. ผู้อำนวยการสถานศึกษา ง. ข้อ ข และ ค ถูกต้อง
25.
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติระบุให้กระทรวงศึกษาธิการกระจายอำนาจการจัดการศึกษา
เรื่องใดบ้าง
ก. ด้านวิชาการ ข. ด้านงบประมาณ ค. ด้านบริหารงานบุคคล ง. ถูกทุกข้อ
26.
จากข้อ 75 ให้กระจายอำนาจไปให้หน่วยงานใดโดยตรง
ก. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ข. คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
ค. สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ง. ถูกทุกข้อ
27.
ในการดำเนินกิจการทั่วไปของสถานศึกษากับบุคคลภายนอกใครเป็นผู้แทนนิติบุคคลของสถาน
ศึกษา
ก. ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ข. ผู้อำนวยการสถานศึกษา
ค. คณะกรรมการสถานศึกษา ง. ข้อ ข หรือ ค แล้วแต่กรณี
28.
สถานศึกษาจะจำหน่ายอสังหาริมทรัพย์ที่มีผู้อุทิศให้สถานศึกษาได้ก็ต่อเมื่อได้รับอนุญาตจากใคร
ก. ผู้อำนวยการสถานศึกษา ข. คณะกรรมการสถานศึกษา
ค. ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ง. คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
29.
ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. สถานศึกษามีอำนาจปกครอง ดูแล บำรุงรักษาใช้ และจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินที่มี
ผู้มอบให้สถานศึกษา
ข. สถานศึกษาต้องจดทะเบียนสิทธิในทรัพย์สินที่มีผู้มอบให้สถานศึกษา
ค. กรณีนิติบุคคลสถานศึกษาถูกฟ้องคดีต้องรายงานสำนักงานเขตพื้นที่ภายใน
30 วัน
ง. สถานศึกษามีอิสระในการบริหารงบประมาณพัสดุ ตามวงเงินและอำนาจที่รับมอบ
30.
ใครเป็นผู้แต่งตั้งผู้รับผิดชอบดำเนินการคดีกรณีนิติบุคคลของสถานศึกษาถูกฟ้องคดี
ก. ผู้อำนวยการสถานศึกษา ข. ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ค. เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ง. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
31.
การบริหารจัดการเกี่ยวกับการเงินการบัญชีของสถานศึกษานิติบุคคลให้ดำเนินการตามข้อใด
ก. ตามที่กรมบัญชีกลางกำหนด ข. ตามที่กระทรวงสงการคลังกำหนด
ค. ตามที่เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนด ง. ถูกทุกข้อ
32.
ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. การบริจาคเงินและทรัพย์สินของสถานศึกษาที่มีผู้บริจาคให้ต้องปฏิบัติตามระเบียบกระทรวง
การคลัง
ข. สถานศึกษาต้องจัดทำบัญชีแสดงรายรับจ่ายเงิน ทรัพย์สินที่มีผู้อุทิศให้ รายงานต่อ
ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาทุกสิ้นปีงบประมาณ
ค. ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจัดให้มีการตรวจสอบบัญชีแสดงรายรับจ่ายเงิน
ทรัพย์สินที่มีผู้อุทิศให้สถานศึกษาได้
ง. ถูกทุกข้อ
33.
เมื่อมีการประกาศยุบ รวม เลิกสถานศึกษานิติบุคคล สำนักงานเขตพื้นที่ต้องดำเนินการเกี่ยวกับเงิน
และทรัพย์สินของสถานศึกษาที่มีผู้บริจาคให้อย่างไร
ก. ตรวจสอบทรัพย์สินและชำระบัญชี ข. โอนทรัพย์สินไปให้สถานศึกษาอื่นตามระเบียบ
ค. จำหน่ายทรัพย์สินตามระเบียบที่กำหนด ง. ถูกทุกข้อ
34.
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษาที่มีนักเรียน
300 คน มีจำนวนกี่คน
ก.
6 คน ข. 9 คน ค. 12 คน ง. 15 คน
35.
สัดส่วนองค์ประกอบของคณะกรรมการสถานศึกษาตามข้อใดที่ทำให้คณะกรรมการสถานศึกษาที่มี
ขนาดต่างกันมีจำนวนกรรมการต่างกัน
ก. กรรมการผู้แทนผู้ปกครอง ข. กรรมการผู้แทนครู
ค. กรรมการผู้แทนศิษย์เก่า ง. กรรมการผู้แทนพระภิกษุสงฆ์
36.
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในสถานศึกษาขนาดเล็กและขนาดใหญ่มีจำนวนต่างกันกี่คน
ก.
2 คน ข. 4 คน ค.
5 คน ง.
6 คน
37.
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเลือกมาจากผู้แทนตามข้อใด
ก. กรรมการผู้แทนผู้ปกครอง ข. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
ค. กรรมการผู้แทนศิษย์เก่า ง. เลือกจากกลุ่มใดก็ได้
38.
ใครมีอำนาจแต่งตั้งคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก. ผู้อำนวยการสถานศึกษา ข. ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ค. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ง. คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
39.
จะพ้นจากประธานกรรมการและกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเพราะเหตุใด
ก. ตาย ลาออก ข. พ้นจากการเป็นพระภิกษุ
ค. คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษามีมติให้ออก ง. ถูกทุกข้อ
40.
ประธานกรรมการและกรรมการสถานศึกษามีวาระในการดำรงตำแหน่งคราวละกี่ปี
ก.
2 ปี ไม่เกิน 2 วาระติดต่อกัน ข. 3 ปีไม่เกิน 2 วาระติดต่อกัน
ค.
4 ปี ไม่เกิน 2 วาระติดต่อกัน ง. 4 ปี กี่วาระก็ได้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น