1301.ในกรณีกระทำผิดวินัยเล็กน้อยและมีเหตุอันควรงดโทษ จะงดโทษให้ตามข้อใด
1.โดยให้ทำทัณฑ์บนเป็นหนังสือ
2. ว่ากล่าวตักเตือน
3..ภาคทัณฑ์ หรือว่ากล่าวตักเตือนก็ได้สมควรแก่กรณี
4.
ถูกทั้ง 1-2
5.
ถูกทั้ง 1-2 และ 3
1302.ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดกระทำผิดวินัยไม่ร้ายแรง
ให้ผู้บังคับบัญชาสั่งลงโทษตามข้อใดต่ำสุด
1. ภาคทัณฑ์หรือว่ากล่าวตักเตือน
2. ตัดเงินเดือน
3.
ลดขั้นเงินเดือนตามควรแก่กรณีให้เหมาะสมกับความผิด
4. ให้ทำทัณฑ์บนเป็นหนังสือ
1303 .ในกรณีที่กระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรงและปรากฎชัดแจ้งต้องลงโทษตามข้อใดได้
1. ปลดออก หรือไล่ออก
2. ถ้ามีเหตุอันควรลดหย่อนผ่อนโทษห้ามมิให้ต่ำกว่าลดขั้นเงินเดือน
3. ไล่ออก
4.ถูกทั้ง 1 และ 3
5.
ถูกทั้ง 1-2 และ 3
1304 .กรณีเป็นความเห็นขัดแย้งระหว่างผู้มีอำนาจสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนในเขตพื้นที่การศึกษาเดียวกัน
ให้นำเสนอ ใคร.พิจารณา
1.ผอ.สพท.
2.อ.ก.ค.ศ.
เขตพื้นที่การศึกษา
3.เลขาธิการ สพฐ.
4. ก.ค.ศ
1305 .ถ้าเป็นความเห็นขัดแย้งระหว่างผู้มีอำนาจสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
หรือ อ.ก.ค.ศ.
ต่างเขตพื้นที่การศึกษา ให้นำเสนอใคร. พิจารณา
1.ผอ.สพท.
2.อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา
3.เลขาธิการ สพฐ.
4. ก.ค.ศ
1306 .ให้กรรมการสอบสวนเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญาให้มีอำนาจ
ดังต่อไปนี้ คือข้อใดยกเว้น
1.เรียกให้กระทรวง ทบวง กรม
หน่วยราชการชี้แจงข้อเท็จจริง
2.เรียกให้รัฐวิสาหกิจ
หน่วยงานอื่นของรัฐ ชี้แจงข้อเท็จจริงส่งเอกสารและหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
3 เรียกให้ห้างหุ้นส่วนบริษัท
ชี้แจงข้อเท็จจริง ส่งเอกสารและหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
4. เรียกผู้ถูกกล่าวหาหรือบุคคลใดๆ มาชี้แจง
หรือให้ถ้อยคำ
5.ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
1307 .ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดถูกสั่งลงโทษภาคทัณฑ์
ตัดเงินเดือนหรือลดขั้นเงินเดือน ให้มีสิทธิอุทธรณ์ต่อใครแล้วแต่กรณี
1. อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา
2. อ.ก.ค.ศ. ที่ ก.ค.ศ. ตั้ง
3. ก.ค.ศ.
4.ถูกทั้ง 1 และ 2 -3
1308 .ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดถูกสั่งลงโทษภาคทัณฑ์
ตัดเงินเดือนหรือลดขั้นเงินเดือน ให้มีสิทธิอุทธรณ์ กี่...วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคำสั่ง
1. ภายใน 60 วัน
2. ภายใน 30 วันทำการ
3.ภายใน 30 วัน
4.ภายใน 60 วันทำการ
5.ภายใน 90. วัน
1309 .ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดถูกสั่งลงโทษปลดออก
ไล่ออกหรือถูกสั่งให้ออกจากราชการ ให้มีสิทธิอุทธรณ์หรือร้องทุกข์ แล้วแต่กรณี ต่อ
ต่อใคร.
1.อ.ก.ค.ศ.
ภายใน 30
วันนับแต่วันที่ได้รับทราบคำสั่ง
อ.ก.ค.ศ. พิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน
90 วัน
2.ก.ค.ศ.
ภายใน 30
วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคำสั่ง
ก.ค.ศ. พิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน
90 วัน
3.ก.ค.ศ.
ภายใน 30
วันนับแต่วันที่ได้รับทราบคำสั่ง
ก.ค.ศ. พิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน
90 วัน
4.อ.ก.ค.ศ.
ภายใน 30
วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคำสั่ง
อ.ก.ค.ศ. พิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน
90 วัน
1310 .ข้าราชการครูผู้ใดเห็นว่าตนไม่ได้รับความเป็นธรรมหรือมีความคับข้องใจเนื่องจากการกระทำของผู้บังคับบัญชาในสถานศึกษาให้ผู้นั้นมีสิทธิร้องทุกข์ต่อใคร..
1. อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา อ.ก.ค.ศ. ที่
ก.ค.ศ. ตั้ง หรือ ก.ค.ศ. แล้วแต่กรณี
2. ก.ค.ศ.
3.อ.ก.ค.ศ. ที่ ก.ค.ศ. ตั้ง
4.
อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา
1311 .ในกรณีที่ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดเห็นว่า
อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาหรือ อ.ก.ค.ศ.
ที่ ก.ค.ศ. ตั้ง
มีมติไม่ถูกต้องหรือไม่เป็นธรรม ให้ผู้นั้นจะดำเนินการอย่างไร
1. ฟ้องศาลปกครอง
2. ร้องทุกข์ต่อ ก.ค.ศ.
3. มติของ ก.ค.ศ. ให้ถือว่าเป็นที่สุดแล้ว
4. ถูกทั้ง 1 และ 2
1312 ครูวิชัย ที่ถูกสั่งลงโทษ ลดขั้นเงินเดือนและ เมื่อ
มติ ก.ค.ศ. ได้วินิจฉัยอุทธรณ์แล้วเห็นว่าตนยังไม่ได้รับความเป็นธรรม
ครูวิชัย ย่อมมีสิทธิที่จะดำเนินตามข้อใดต่อไป
1.ร้องทุกข์ต่อ ก.ค.ศ.
2.ฟ้องร้องคดีต่อศาลปกครอง
3.มติของ
ก.ค.ศ. ให้เป็นที่สุดแล้ว
4.ร้องทุกข์ต่อ
ก.ค.ศ.หรือรัฐมนตรีเจ้าสังกัด
5.ร้องทุกข์ที่ศาลไคฟง
ถึงท่านเปาบุ้นจิ้น
1313 .เมื่อ
ก.ค.ศ. ได้วินิจฉัยอุทธรณ์ผู้ใดเห็นว่าตนไม่ได้รับความเป็นธรรม
หรือกรณีที่มิได้บัญญัติให้มีสิทธิอุทธรณ์ตามหมวด ผู้นั้นย่อมมีสิทธิที่จะฟ้องร้องคดีต่อศาลปกครองได้เมื่อศาลปกครองมีคำพิพากษาหรือคำสั่งเป็นประการใดแล้ว
ให้ผู้บังคับบัญชาดำเนินการตามความข้อใด
1.ผู้บังคับบัญชาดำเนินการคืนความเป็นธรรม
2
.ผู้บังคับบัญชาดำเนินการแก้ไขคำสั่งไปตามนั้น
3. ดำเนินการตามคำสั่งย้อนหลังให้ถูกต้อง
4. ถูกทั้ง 1 และ 2
5. ถูกทั้ง 2 และ 3
1314 .พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็กพ.ศ. 2546 ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1.ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนด
180 วันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
2.ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนด
120 วันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
3.ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนด
120 วันนับแต่วันประกาศ
4.ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนด
180 วันนับแต่วันประกาศ
1315 .บุคคลซึ่งมีอายุต่ำกว่าสิบแปดปีบริบูรณ์
แต่ไม่รวมถึงผู้ที่บรรลุนิติภาวะด้วยการสมรส หมายถึง
1. เด็กชาย
2. เด็กหญิง
3.
เด็ก
4. เด็กเสี่ย
5. ถูกทั้ง 1 -3 และ
2
1316 .เด็กที่ไม่มีบิดามารดาหรือผู้ปกครองหรือมีแต่ไม่เลี้ยงดูหรือไม่สามารถเลี้ยงดูได้
จนเป็นเหตุให้เด็กที่มีพฤติกรรมใช้ชีวิต จนน่าจะเกิดอันตรายต่อสวัสดิภาพของตน
หมายถึง
1.เด็กกำพร้า
2 เด็กเร่ร่อน
3.เด็กร่อนเร่
4.เด็กที่เสี่ยงต่อการกระทำผิดหรือเด็กเร่ร่อน
5. ถูกทั้ง 3 และ 4
1317 .เด็กที่บิดาหรือมารดาเสียชีวิต
เด็กที่ไม่ปรากฏบิดามารดาหรือไม่สามารถสืบหาบิดามารดาได้หมายถึง
1.
เด็กกำพร้า
2 เด็กเร่ร่อน
3.
เด็กกำพร้าหรือเด็กด้อยโอกาส
4.เด็กที่เสี่ยงต่อการกระทำผิด
5. ถูกทั้ง 1 และ 3
1318 .บิดามารดาหมายความตามข้อใด
ของ( พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546
)
1. บิดามารดาของเด็กที่สมรสตามกฎหมาย
2. มารดาของเด็กที่สมรสตามกฎหมาย
3.
บิดามารดาของเด็กไม่ว่าจะสมรสกันหรือไม่
4. ถูกทั้ง 1-2 และ 3
1319. บุคคลที่รับเด็กไว้อุปการะเลี้ยงดูอย่างบุตรหมายความตามข้อใด
ของ(
พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 )
1.
บิดา/มารดา
2.
สถานรับเลี้ยงเด็ก
3.ครอบครัวอุปการะเด็ก
4.ครอบครัวอุปถัมภ์
5.
ถูกทั้ง 2 และ 3
1320 .ทารุณกรรมหมายความว่าตามข้อใด ยกเว้นข้อใดกล่าวผิด
ของ(
พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 )
1.
การกระทำหรือละเว้นการกระทำด้วยประการใดๆจนเป็นเหตุให้เด็กเสื่อมเสียเสรีภาพ
2.
การกระทำหรือละเว้นการกระทำด้วยประการใดๆจนเป็นเหตุให้เด็กเกิดอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจ
หรือ การกระทำผิดทางเพศต่อเด็ก
3.
การใช้เด็กให้กระทำหรือประพฤติในลักษณะที่น่าจะเป็นอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจ
4.การให้เด็กไม่กระทำหรือประพฤติในลักษณะที่น่าจะขัดต่อกฎหมายหรือศีลธรรมอันดี
ทั้งนี้ ไม่ว่าเด็กจะยินยอมหรือไม่ก็ตาม
5.
ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
1321.สถานที่รับเลี้ยงและพัฒนาเด็กที่มีอายุไม่เกินหกปีบริบูรณ์
และมีจำนวนตั้งแต่หกคนขึ้นไป
1.สถานสงเคราะห์
2.สถานแรกรับ
3.สถานเลี้ยงเด็ก
4.สถานรับเลี้ยงเด็ก
1322..ออกจากราชการไปดำรงตำแหน่งทางการเมือง
แล้วขอกลับเข้ารับราชการ
จะต้องยื่นขอสมัครเข้ารับราชการ..ตามข้อใด
1. ทันทีนับแต่วันขอลาออก
2.ภายใน 30 วัน
3.ภายใน 60
วันทำการ
4.ภายใน 60 วัน
1323 .การบรรจุข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ออกไปแล้วกลับเข้ารับราชการแบบสมัครเข้ารับราชการต้อง
มีเอกสารยื่นเพื่อประกอบการพิจารณา
ยกเว้น ข้อใด
1.สำเนา กพ. 7
2.สำเนาปริญญาบัตร
3.ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ และ
คำสั่งออกจากราชการ
4.หนังสือรับรองความประพฤติจากสถานีตำรวจที่ผู้สมัครเข้ารับราชการมีภูมิลำเนาอยู่
5.ใบรับรองแพทย์
1324 .ให้
ใคร..รักษาการตามพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 ยกเว้น
ข้อใด
1.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
2.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
3.
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
4.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม
5. ถูกต้องทุกข้อที่กล่าวมา
1325 .ใคร..มีอำนาจแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่(
พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546)
1.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
2.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
3.
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
4.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
5.
ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
1326 .คณะกรรมการคุ้มครองเด็กแห่งชาติ
ประกอบด้วยข้อใด กล่าวผิด
1.
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นประธาน
2.ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
เป็นรองประธานกรรมการ2.
ปลัดกระทรวงมหาดไทย .ปลัดกระทรวงยุติธรรม.. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
อัยการสูงสุด .เป็นกรรมการ
3.
ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ.. อธิบดีกรมการปกครอง. อธิบดีกรมพัฒนาสังคมและ
สวัสดิการ
เป็นกรรมการ
4.
อธิบดีกรมสุขภาพจิต. อธิบดีผู้พิพากษาศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง เป็นกรรมการ
5. ผู้แทนสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก และผู้สูงอายุ เป็นกรรมการ
( ผู้อำนวยการ..)
1327 .ให้
ใคร..ทำหน้าที่เป็นสำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการคุ้มครองเด็กแห่งชาติ
1.สำนักงานปลัดกระทรวง
2.
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
3.สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
4. ถูกทั้ง 2 และ 3
5. ถูกทั้ง 1 -2 และ 3
1328 .คณะกรรมการคุ้มครองเด็กแห่งชาติกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระอยู่ในตำแหน่ง
ตามข้อใด
1. คราวละ 2 ปี
2.คราวละ 3 ปี
3.คราวละ 4 ปี
4.คราวละ ไม่เกิน 3ปี
1329 .เสนอความเห็นต่อรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบาย แผนงาน งบประมาณและมาตรการในการสงเคราะห์
คุ้มครองสวัสดิภาพ และส่งเสริมความประพฤติเด็ก เป็น มีอำนาจและหน้าที่ของใคร..
1.สำนักงานปลัดกระทรวง
2.สำนักงานเลขานุการ
3.สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
4.คณะกรรมการคุ้มครองเด็กแห่งชาติ
1330 .วางระเบียบโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลังเกี่ยวกับการรับเงินการจ่ายเงิน
การเก็บรักษาเงิน และการจัดหาผลประโยชน์ของกองทุนเป็น
ใครมีอำนาจและหน้าที่ ตามข้อใด
2. คณะกรรมการคุ้มครองเด็กกรุงเทพมหานคร
3.คณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัด
4.คณะกรรมการคุ้มครองเด็กแห่งชาติ
5. คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
1331 .ให้มีคณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัด
ประกอบด้วยข้อใด กล่าวผิด
1. ผู้ว่าราชการจังหวัด
เป็นประธานกรรมการ
2. รองผู้ช่วยผู้ว่าราชการจังหวัดที่ผู้ว่าราชการมอบหมายเป็นรองประธานกรรมการ
3. อัยการจังหวัด พัฒนาการจังหวัด แรงงานจังหวัด
ผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษาเป็นกรรมการ
4.นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด
ผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด
ผู้แทนศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดเป็นกรรมการ
1. ผู้แทนศาลจังหวัด
ในกรณีที่จังหวัดนั้นไม่มีศาลเยาวชนและครอบครัวเป็นกรรมการ
1332 ให้คำปรึกษา แนะนำ
และประสานแก่หน่วยงานของรัฐและเอกชนที่ปฏิบัติงานด้านการศึกษา การสงเคราะห์
และส่งเสริมความประพฤติเด็กรวมทั้งมีอำนาจเข้าไปตรวจสอบในสถานรับเลี้ยงเด็ก และส่งเสริมความประพฤติเด็กของรัฐและเอกชนภายในเขตกรุงเทพมหานครหรือเขตจังหวัด
แล้วแต่กรณี เป็นอำนาจและหน้าที่ของใคร.
1. คณะกรรมการคุ้มครองเด็กกรุงเทพมหานคร
2.คณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัด
3.คณะกรรมการคุ้มครองเด็กแห่งชาติ
4. ถูกทั้ง 1 และ 2
5.
ถูกทั้ง 1 -2 และ 3
1333 .ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดได้รับการแต่งตั้ง
ให้เลื่อนตำแหน่งหรือเลื่อนวิทยฐานะ
โดยไม่เข้าเกณฑ์มาตรฐานตำแหน่ง หรือมาตรฐานวิทยฐานะ ตาม
หลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ. กำหนดให้ผู้มีอำนาจตามมาตรา 53 ดำเนินการตามข้อใด
1.สั่งให้ผู้นั้นกลับไปดำรงตำแหน่งหรือวิทยฐานะเดิมโดยเร็ว
2.สั่งให้ผู้นั้นกลับไปดำรงตำแหน่งหรือวิทยฐานะเดิมโดยพลัน
3.สั่งให้ผู้นั้นกลับไปดำรงตำแหน่งเดิมโดยพลัน
4.ให้มีการพัฒนาข้าราชการผู้นั้นให้สามารถปฏิบัติงานในหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
เพื่อให้สามารถผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงานได้ ตามหลักเกณฑ์ ที่ ก.ค.ศ
กำหนด
5. ถูกทั้ง 3 และ 4
1334 (ตาม
พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตำแหน่ง ตามข้อใด..ยกเว้น
1. รัฐมนตรีให้ออกเพราะบกพร่องหรือไม่สุจริตต่อหน้าที่
มีความประพฤติเสื่อมเสีย
2.
ได้รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก
3. เป็นบุคคลล้มละลาย
4.เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
5.
ขาดการประชุมเกินสามครั้งโดยไม่มีเหตุอันสมควร
1335 .ให้คำปรึกษา
แนะนำ และประสานงานแก่หน่วยงานของรัฐและเอกชนที่ปฏิบัติงานด้านการศึกษา การสงเคราะห์
คุ้มครองสวัสดิภาพ และส่งเสริมความประพฤติเด็กรวมทั้งมีอำนาจเข้าไปตรวจสอบในสถานรับเลี้ยงเด็กและส่งเสริมความประพฤติเด็กทั้งของรัฐและเอกชน
เป็นอำนาจหน้าที่ของใคร
1. คณะกรรมการคุ้มครองเด็กกรุงเทพมหานคร
2.คณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัด
3.คณะกรรมการคุ้มครองเด็กแห่งชาติ
4.
ถูกทั้ง 1 และ 2
5. ถูกทั้ง 1 -2 และ 3
1335 .ให้คำแนะนำและเสนอแนะในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการสงเคราะห์
คุ้มครองสวัสดิภาพ และส่งเสริมความประพฤติเด็กในกรุงเทพมหานครและระดับจังหวัด
1.
คณะกรรมการคุ้มครองเด็กกรุงเทพมหานคร
2.คณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัด
3.คณะกรรมการคุ้มครองเด็กแห่งชาติ
4.
ถูกทั้ง 1 และ 2
5. ถูกทั้ง 1 -2 และ 3
1336 .ให้มี..คณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัด
ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
1. อัยการจังหวัด ผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด
2. พัฒนาการจังหวัด ผู้แทนศาลเยาวชน
และครอบครัวจังหวัด
3. แรงงานจังหวัด ผู้แทนสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัด
4.
ผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษา.. นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด
5.
นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด และ อำเภอ
1337 .ให้คำปรึกษา
แนะนำ และประสานแก่หน่วยงานของรัฐและเอกชนที่ปฏิบัติงานด้านการศึกษา การสงเคราะห์
คุ้มครองสวัสดิภาพ
และส่งเสริมความประพฤติเด็กรวมทั้งมีอำนาจเข้าไปตรวจสอบในสถานรับเลี้ยงเด็ก สถานแรกรับ
ภายในเขตกรุงเทพมหานครหรือเขตจังหวัด แล้วแต่กรณี
1. คณะกรรมการคุ้มครองเด็กกรุงเทพมหานคร
2.คณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัด
3.คณะกรรมการคุ้มครองเด็กแห่งชาติ
4. ถูกทั้ง 1 และ 2
5.
ถูกทั้ง 1 -2 และ 3
1338 .คณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัดมีอำนาจและหน้าที่ติดตาม ประเมินผลและตรวจสอบการดำเนินงานเกี่ยวกับการสงเคราะห์และส่งเสริมความประพฤติเด็กในระดับจังหวัด แล้วแต่กรณี
แล้วรายงานผลต่อใคร..
1.ประธานคณะกรรมการ
2.พัฒนาการจังหวัด
3.คณะกรรมการคุ้มครองเด็กแห่งชาติ
4.ผู้ว่าราชการจังหวัดนั้น
5. ถูกทั้ง 3 และ 1
1339.(
พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 )การปฏิบัติต่อเด็กไม่ว่ากรณีใด
ให้คำนึงถึงเรื่องใดเป็นสำคัญ
1.ประโยชน์สูงสุดของผู้เรียนเป็นสำคัญ
2. ไม่ให้มีการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม
3.ประโยชน์สูงสุดของเด็กเป็นสำคัญ
4.
ถูกทั้ง 1 และ 2
5.
ถูกทั้ง 2 และ 3
.1340 ใคร..มีหน้าที่คุ้มครองสวัสดิภาพเด็กที่อยู่ในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ
ไม่ว่าเด็กจะมีผู้ปกครองหรือไม่ก็ตามยกเว้นข้อใด..กล่าวผิด
1. ปลัดกระทรวง ผู้ว่าราชการจังหวัด นายอำเภอ
2. ปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอ
หรือผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
3.ปลัดกระทรวง ผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้อำนวยการเขตหรือคณะกรรมการพื้นที่การศึกษา รวมทั้ง นายอำเภอ
4.
ผู้ว่าราชการจังหวัด
นายอำเภอปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอ
1340
.ผู้ปกครองต้องไม่กระทำการ ดังต่อไปนี้
ข้อใดกล่าวผิด
1.
ไม่ทอดทิ้งเด็กไว้ในสถานรับเลี้ยงเด็กหรือสถานพยาบาลโดยเจตนาที่จะไม่รับเด็กกลับคืน
2. ละทิ้งเด็กไว้ ณ สถานที่ใดๆ
โดยไม่จัดให้มีการป้องกันดูแลสวัสดิภาพหรือให้การเลี้ยงดูที่เหมาะสม
3.จงใจหรือละเลยไม่ให้สิ่งที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตหรือสุขภาพอนามัยจนน่าจะเกิดอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจของเด็ก
4.ปฏิบัติต่อเด็กในลักษณะที่เป็นการขัดขวางการเจริญเติบโตหรือพัฒนาการของเด็ก
5.
ปฏิบัติต่อเด็กในลักษณะที่เป็นการเลี้ยงดูโดยมิชอบ
1341..ซักถามเด็กเมื่อมีเหตุอันควรสงสัยว่าเด็กจำต้องได้รับการสงเคราะห์หรืออาจนำตัวเด็กไปยังที่ทำการของพนักงานเจ้าหน้าที่
เพื่อทราบข้อมูลเกี่ยวกับเด็กและครอบครัว จะต้องกระทำตามข้อใด
1. ด่วนที่สุด ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติในทันที
.ไม่ว่ากรณีใดจะกักตัวเด็กไว้นานเกินกว่าสิบสองชั่วโมงไม่ได้
2.โดยมิชักช้า
แต่ไม่ว่ากรณีใดจะกักตัวเด็กไว้นานเกินกว่ายี่สิบสี่ชั่วโมงไม่ได้
3.โดยมิชักช้า
แต่ไม่ว่ากรณีใดจะกักตัวเด็กไว้นานเกินกว่าสิบสองชั่วโมงไม่ได้
4. ด่วน ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติเร็วกว่าปกติ
เท่าที่จะทำได้
5.ด่วนมาก เจ้าหน้าที่ปฏิบัติโดยเร็ว
แต่ไม่ว่ากรณีใดจะกักตัวเด็กไว้นานเกินกว่าสิบสองชั่วโมงไม่ได้
1342. เป็นอำนาจและหน้าที่ใคร..มีหนังสือเรียกผู้ปกครอง
หรือบุคคลอื่นใดมาให้ถ้อยคำหรือข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสภาพความเป็นอยู่ ความประพฤติ
สุขภาพ และความสัมพันธ์ในคอบครัวของเด็ก
1.
คณะกรรมการคุ้มครองเด็กกรุงเทพมหานคร
2.คณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัด
3.คณะกรรมการคุ้มครองเด็กแห่งชาติ
4.พนักงานเจ้าหน้าที่
5. ผู้ว่าราชการจังหวัด
1343. อำนาจและหน้าที่ใคร.ออกคำสั่งเป็นหนังสือให้ผู้ปกครองของเด็ก
นายจ้างหรือผู้ประกอบการเจ้าของหรือผู้ดูแลสถานศึกษาที่เด็กกำลังศึกษาหรือเคยศึกษา
ส่งเอกสารหรือหลักฐานเกี่ยวกับสภาพความเป็นอยู่ การศึกษา การทำงาน
หรือความประพฤติของเด็กมาให้
1.คณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัด
2.พนักงานเจ้าหน้าที่
3. ผู้ว่าราชการจังหวัด
4. คณะกรรมการ
1344 .เด็กที่พึงได้รับการสงเคราะห์ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
1.
เด็กเร่ร่อนหรือเด็กร่อนเร่
2.เด็กกำพร้า
3.
เด็กที่ถูกทอดทิ้งหรือพลัดหลง ณ ที่ใดที่หนึ่ง
4.
เด็กที่ผู้ปกครองไม่สามารถอุปการะเลี้ยงดูได้ด้วยเหตุใดๆ
5.
ถูกต้องทุกข้อที่กล่าวมา
1345 .เด็กที่พึงได้รับการคุ้มครองสวัสดิภาพ..ยกเว้นข้อใด
1. เด็กที่ถูกทารุณกรรม
2.
เด็กที่เสี่ยงต่อการกระทำผิด
3.
เด็กที่อยู่ในสภาพที่จำต้องได้รับการคุ้มครองสวัสดิภาพตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
4.เด็กที่อยู่ในสภาพยากลำบาก
1346. เด็กที่พึงได้รับการสงเคราะห์
ตามข้อใด ยกเว้น
1.
เด็กเร่ร่อน หรือเด็กกำพร้า รวมทั้ง เด็กที่ถูกทอดทิ้งหรือพลัดหลง ณ
ที่ใดที่หนึ่ง
2. เด็กที่ผู้ปกครองไม่สามารถอุปการะเลี้ยงดูได้ด้วยเหตุใดๆ
เช่น ถูกจำคุก
3. เด็กที่ผู้ปกครองมีพฤติกรรมหรือประกอบอาชีพไม่เหมาะสม
4.
เด็กที่ได้รับการเลี้ยงดูโดยมิชอบ ถูกใช้เป็นเครื่องมือในการกระทำหรือ
แสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ
ถูกทารุณกรรม
5. เด็กพิการ เด็กที่อยู่ในสภาพยากลำบาก
รวมทั้ง เด็กที่อยู่ในสภาพที่จำต้อง
รับการสงเคราะห์ตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
1346 .ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดประสงค์จะลาออกจากราชการ
ให้ยื่นหนังสือขอลาออกต่อผู้ใด
1. ผู้บังคับบัญชา
เพื่อให้ผู้มีอำนาจตามมาตรา 53 เป็นผู้พิจารณาอนุญาต
2.ผู้บริหารสถานศึกษา
เพื่อให้ผู้มีอำนาจตามมาตรา 53 เป็นผู้พิจารณาอนุญาต
3.ผู้บังคับบัญชา เพื่อให้ผู้มีอำนาจตามมาตรา
53 เป็นผู้พิจารณาอนุมัติ
4.ผอ.สพท.
เพื่อให้ผู้มีอำนาจตามมาตรา 53 เป็นผู้พิจารณาอนุญาต
1347 .ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดประสงค์จะลาออกจากราชการในกรณีที่ผู้มีอำนาจตามมาตรา
53 พิจารณาเห็นว่าจำเป็นเพื่อประโยชน์แก่ราชการจะยับยั้งการอนุญาตให้ลาออกตามข้อใด
1. เป็นเวลาไม่เกิน 30
วันนับตั้งแต่วันที่ลาออก
2.เป็นเวลา 90
วันนับตั้งแต่วันขอลาออก
3.เป็นเวลาไม่น้อย 90
วันนับตั้งแต่วันขอลาออก
4. เป็นเวลา 30 วันนับตั้งแต่วันขอลาออก
5.เป็นเวลาไม่เกิน 90
วันนับตั้งแต่วันขอลาออก
1348. .ข้าราชการครูผู้ใดประสงค์จะลาออกจากราชการถ้าผู้มีอำนาจตามมาตรา
53 ไม่ได้ยับยั้งการอนุญาตให้ลาออก ให้การลาออกนั้นมีผล ..เป็นไปตามข้อใด
1.ตั้งแต่วันขอลาออก
2.มีผลตั้งแต่หลังวันยับยั้งไม่เกินเก้าสิบวันนับตั้งแต่วันขอลาออก
3.หลังวันยื่นหนังสือขอลาออกต่อผู้บังคับบัญชา
4.มีผลตั้งแต่หลังวันยับยั้งนับตั้งแต่วันขอลาออก
1349 .ข้าราชการครู
ผู้ใดประสงค์จะลาออกจากราชการเพื่อดำรงตำแหน่งทางการเมืองหรือการเลือกตั้งอื่นที่มีลักษณะเป็นการส่งเสริมการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
ให้ยื่นหนังสือขอลาออกต่อใคร.
1.
ผู้บังคับบัญชา เพื่อให้ผู้มีอำนาจตามมาตรา 53 เป็นผู้พิจารณายับยั้ง
2. ผู้บังคับบัญชา
และให้การลาออกมีผลนับตั้งแต่วันที่ผู้นั้นขอลาออก
3.
อ.ก.ค.ศ เขตพื้นที่ เพื่อให้ผู้มีอำนาจตามมาตรา 53
เป็นผู้พิจารณาอนุมัติ
4.
ผอ.สพท. เพื่อให้ อ.ก.ค.ศ เขตพื้นที่
เป็นผู้พิจารณาอนุมัติ
1350 .การแบ่งส่วนราชการของสถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้เป็นไปตามใคร.กำหนด
1.กฎกระทรวง
2.ระเบียบที่คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษากำหนด
3.ประกาศกระทรวง
4.สพท.ให้ความเห็นชอบ
1350.หลักเกณฑ์การแบ่งส่วนราชการของสถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้เป็นไปตามใคร.กำหนด
1.กฎกระทรวง
2.ระเบียบที่คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษากำหนด
3.ประกาศกระทรวง
4.สพท.ให้ความเห็นชอบ
1351 .พิจารณาอนุญาตหรือเลิกการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยครอบครัว
อำนาจหน้าที่ใคร.
1. สพท.
2.คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
หรือ สพท.
3.คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
4.สพท.
และ คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
5. ผอ.สพท.และ
คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
1352 .ผู้อำนวยการสถานศึกษามีอำนาจหน้าที่ในการอนุมัติประกาศนียบัตรและวุฒิบัตรของสถานศึกษาให้เป็นไปตามข้อใด
1.ระเบียบที่คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษากำหนด
2.ระเบียบที่คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนด
3. ระเบียบที่ อ.ก.ค.ศ เขตพื้นที่
กำหนด
4.ระเบียบที่คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนด
5.สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
1353 .ให้ความเห็นชอบในการจัดทำสาระของหลักสูตรของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานให้สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น
เป็นอำนาจหน้าที่
1.สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
2.คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
3.คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
4.คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
1354.คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีอำนาจหน้าที่ให้ความเห็นชอบการจัดทำแผนงบประมาณและคำขอตั้งงบประมาณเพื่อเสนอต่อใคร
1.สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
2.คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
3.
เลขาธิการ สพฐ.
4.คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
5. ผู้ว่าราชการจังหวัด
1355 .ใคร..ให้ความเห็นชอบการขอโอนและการขอเปลี่ยนแปลงงบประมาณของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
1.สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
2.คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
3. เลขาธิการ สพฐ.
4.คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
5. ผู้ว่าราชการจังหวัด
1356. .ให้ความเห็นชอบการจัดหาประโยชน์จากทรัพย์สินของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
1.สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
2.คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
3. เลขาธิการ กพฐ.
4. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
5. สพท. ให้ความเห็นชอบ
1357 .ให้ความเห็นชอบ
และให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดระบบและการดำเนินการตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
1.สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
2.คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
3.
คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
4. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
5. สพท.
1358 .ให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ในสถานศึกษาต่อผู้บริหารสถานศึกษา
1.สำนักงาน.กพฐ.
2.คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
3. อ.ก.ค.ศ
เขตพื้นที่การศึกษา
4. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
5. สพท. และ
อ.ก.ค.ศ เขตพื้นที่การศึกษา
1358. .พิจารณาให้ความเห็นชอบในการบริหารและการจัดการศึกษาในเรื่องการนำเอารายวิชาพิเศษมาเพิ่มหรือปรับใช้ในหลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง เป็นบทบาทและอำนาจหน้าที่
1.สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
2.คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
3. เลขาธิการ กพฐ.
4. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
5. สพท.
1359 .
พิจารณาให้ความเห็นชอบในการบริหารและการจัดการศึกษาในเรื่อง
การวางแผนงานด้านวิชาการ และ
การพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาเป็นบทบาทและอำนาจหน้าที่
1.สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
2.
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
3. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษา
4. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
5. สพท.และ.คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
1360 .พิจารณาให้ความเห็นชอบในการบริหารและการจัดการศึกษาในเรื่อง
การวางแผนการบริหารงานการศึกษา การรับนักเรียน
และ การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา
1.ผู้อำนวยการสถานศึกษา
2.สพท.
3.
คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษา
4. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
5. ถูกทั้ง
1 และ 3
1361. .พิจารณาให้ความเห็นชอบในการบริหารและการจัดการศึกษาในเรื่องการพัฒนาหรือการดำเนินการเกี่ยวกับการให้ความเห็นการพัฒนาสาระหลักสูตรท้องถิ่น
และ การวางแผนงานด้านวิชาการใน
สพท.
1.สำนักงาน กพฐ.
2.คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
3. ผอ.สพท.
4. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
5. สพท. และคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
1362..
การพัฒนาสาระหลักสูตรท้องถิ่นเป็น บทบาทและอำนาจหน้าที่
1. ผู้อำนวยการสถานศึกษา
2.สพท.
3.
คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษา
4. สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
1363 .สถานศึกษาได้จัดทำแผนปฏิบัติการใช้จ่ายเงิน
ตามที่ได้รับจัดสรรงบประมาณจาก..สพฐ.โดยตรงใคร.พิจารณา..ให้ความเห็นชอบ
1.ผู้อำนวยการสถานศึกษา
2.คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
3. ผอ.สพท.
4. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
5. สพท. และ คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
1364 .การขอโอนและการขอเปลี่ยนแปลงงบประมาณใน
สพท.ใคร.พิจารณาให้ความเห็นชอบ
1.สำนักงาน กพฐ.
2.คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
3
.ผู้ว่าราชการจังหวัด
4. กระทรวงการคลัง
5. สพท. และ คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
1365 .ให้ใครเป็นผู้ลงนามในใบสั่งซื้อสำหรับการจัดซื้อด้วยวิธีตกลงราคา
1. ผู้อำนวยการโรงเรียน
2.
หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ
3. เจ้าหน้าที่พัสดุ
4.ถูกทั้ง 2 และ 3
1366 .ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับมาตรฐานทางการเงิน
7 ประการ (7
Hurdles)
1. การวางแผนงบประมาณ
2. การคำนวณต้นทุนผลผลิต
3.การบริหารการจัดหา
4.
การปรับเปลี่ยนระบบงบประมาณการเงินและพัสดุ
1367 .
ข้อใดคือระยะเวลาของการนำส่งเงินภาษีหัก ณ ที่จ่ายแก่สรรพากร
1. นำส่งทันที
2. ภายในวันที่ 1 ของเดือน
3.ภายในวันที่ 3 ของเดือน
4.ภายในวันที่
7 ของเดือน
1368 .
กรณีจ่ายเงินให้กับบุคคลธรรมดาเจ้าหน้าที่การเงินจะต้องทำบันทึกขออนุมัติจ่ายเงินโดยคำนวณภาษี ณ ที่จ่าย จำนวนวงเงินตั้งแต่กี่บาทขึ้นไป
1.500 บาท
2.1,000 บาท
3.10,000 บาท
4.50,000
บาท
1369 ผู้อำนวยการโรงเรียนมีอำนาจในการสั่งซื้อ-สั่งจ้างด้วยเงินรายได้สถานศึกษาได้ครั้งละเท่าไร
1.10 ล้านบาท
2.12
ล้านบาท
3.15 ล้านบาท
4.20
ล้านบาท
1370 .ใครเป็นผู้มีอำนาจผ่อนผันให้เด็กเข้าเรียนก่อนหรือหลังอายุตามเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับได้
1.สถานศึกษา
2.สพท.
3.ผอ.สพท.
4.คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
1371 .โรงเรียนจะต้องเปิดบัญชีเงินฝากธนาคารที่ใช้สำหรับรับเงินอุดหนุนเป็นบัญชีประเภทอะไร
1.ประเภทออมทรัพย์
2.ประเภทกระแสรายวัน
3.ประเภทเผื่อเรียก
4.ประเภทใดก็ได้
1372 .ท่านเป็นผู้อำนวยการสถานศึกษาจะต้องตั้งคณะกรรมการ
จำนวน 5 คน เพื่อตรวจสอบกรรมสิทธิ์
สิทธิครอบครองกรณีรับบริจาคสังหาริมทรัพย์เกินกว่ากี่.บาทขึ้นไป
1.10,000 บาท
2. 50,000 บาท
3.100,000
บาท
4.500,000 บาท
1373 .ค่าอินเทอร์เนต
อยู่ในเงินงบประมาณหมวดใด
1.งบบุคลากร
2.งบดำเนินงาน
3.งบลงทุน
4.งบอื่น ๆ
1374 .ซ่อมแซมอาคารเรียนวงเงิน 75,600 บาท ใช้วิธีใด
1.ตกลงราคา
2.สอบราคา
3. วิธีพิเศษ
4.วิธีกรณีพิเศษ
1375 .มีเงินงบประมาณงบดำเนินการค้างจ่าย 50,000
บาท ต่อมาได้รับเงินอุดหนุนเมื่อเดือน พ.ย. 120,000 บาท
เงินรายได้จากการระดมทรัพยากร 80,000 บาท เงินบริจาคเพื่อบำรุงรักษาพัสดุ 120,000
บาท ถ้าโรงเรียนจะซื้อคอมพิวเตอร์ 25,000 บาท ใช้เงินอะไร
1.เงินอุดหนุน
2.งบดำเนินการ
3.
เงินรายได้
4.
เงินบริจาค
1376 .ข้อใดเป็นครุภัณฑ์
1.เครื่องตัดหญ้า 4,900 บาท
2.โทรศัพท์มือถือ 3,500 บาท
3.เครื่องโทรสาร
7,500 บาท
4.โปรแกรมคอมพิวเตอร์
7,800 บาท
1377 .โรงเรียนมีนักเรียน
120 คน สามารถมีเงินสำรองจ่ายได้ไม่เกินวันละกี่บาท
1.10,000
บาท
2.15,000 บาท
3.20,000 บาท
4. 25,000 บาท
1378 . ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินค่าสอนพิเศษและค่าสอนเกินภาระงานการสอนในสถานศึกษาและสถาบันอุดมศึกษา
พ.ศ. 2551 ผู้ที่จะเบิกค่าสอนพิเศษตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องมีจำนวนชั่วโมงสอนในหนึ่งสัปดาห์กี่ชั่วโมง
1.10 ชั่วโมง
2.12 ชั่วโมง
3.18 ชั่วโมง
4.ไม่มีสิทธิเบิก
1379 ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินค่าสอนพิเศษและค่าสอนเกินภาระงานการสอนในสถานศึกษาและสถาบันอุดมศึกษา
พ.ศ. 2551
ผู้ที่จะเบิกค่าสอนพิเศษตำแหน่งครูจะต้องมีจำนวนชั่วโมงสอนในหนึ่งสัปดาห์กี่ชั่วโมง
1.10 ชั่วโมง
2.12 ชั่วโมง
3.18 ชั่วโมง
4.20 ชั่วโมง
1378 .การใช้จ่ายเงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายรายหัวของสถานศึกษาจะต้องสอดคล้องกับสิ่งใด
1. จำนวนนักเรียนรวมกิจกรรม
2.
จำนวนโครงการ/กิจกรรมของสถานศึกษา
3.
แผนปฏิบัติราชการประจำปีของสถานศึกษา
4.
แผนการใช้จ่ายเงินอุดหนุนของสถานศึกษา
5. บัญชีธนาคาร/และการเบิกจ่ายประจำวัน
1379 .ตำแหน่งที่เกี่ยวข้องกับพัสดุตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ
พ.ศ. 2535และที่แก้ไขเพิ่มเติมตำแหน่งใดที่ต้องเป็นข้าราชการประจำเท่านั้น
1. เจ้าหน้าที่พัสดุ
2.หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ
3.ผู้ตรวจรับพัสดุ
4.หัวหน้างานพัสดุ
1380 .ข้อใดคือรายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายในงบบุคลากร
1.ค่าตอบแทนพนักงานราชการ
2. ค่าเช่าบ้านข้าราชการ
3.ค่าอาหารทำการนอกเวลา
4. เงินรางวัล
1380 .
การเบิกเงินรายการใดถูกต้องตามหลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงินอุดหนุนปัจจัยพื้นฐานนักเรียนยากจน
1.ค่าสอนพิเศษ
2.ค่าจ้างวิทยากรท้องถิ่น
3.ค่าเช่าคอมพิวเตอร์สำหรับจัดการเรียนการสอน
4.
ค่าอาหารกลางวัน
1381 .ข้อใดคือค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
1.ค่าเวนคืนที่ดิน
2.
ค่าจัดสวน ราคา 45,000 บาท
3. ค่าถมดิน ราคา 40,000 บาท
4.ค่าต่อเติมห้องพยาบาล ราคา
50,000 บาท
1382 .ข้อใดไม่ใช่วัสดุตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ
พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
1.โปรแกรมคอมพิวเตอร์ราคา
15,000 บาท
2.
ต่อเติมห้องน้ำ-ห้องส้วมนักเรียน ราคา 45,000 บาท
3.ดัดแปลงคอมพิวเตอร์แม่ข่าย
ราคา 60,000 บาท
4.ปรับปรุงโต๊ะทำงานครูจำนวน 1
ตัว ราคา 3,500 บาท
1382..เป็นการตรวจสอบผลการเรียนของผู้เรียนเป็นรายปี/รายภาคเป็นการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ระดับใด
1.ระดับชั้นเรียน
2.ระดับสถานศึกษา
3.
ระดับเขตพื้นที่การศึกษา
4.ระดับชาติ
1383 .หลักเกณฑ์การจัดสรรเงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เงินอุดหนุนปัจจัยพื้นฐาน สำหรับนักเรียนยากจน ระดับประถมศึกษา ของโรงเรียนปกติ
ตรงกับข้อใด
1.
500 บาท /คน/ภาคเรียน
2.
1,500 บาท /คน/ภาคเรียน
3. 500 บาท
/คน/ปี
4. 1,500 บาท
/คน/ปี
1384 .หลักในการจัดหาพัสดุ
สถานศึกษาต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด ยกเว้น ข้อใด
1.เปิดเผย
2.โปร่งใส
3.เปิดโอกาสให้มีการแข่งขันกันอย่างเป็นธรรม
4.เปิดทางให้หน่วยงานอื่นๆพร้อมตรวจสอบ
1385 .ถ้าสถานศึกษาจ้างทำสีอาคารเรียนทั้งภายในภายนอก
โดยทำสัญญาจ้าง 150,000 บาท สถานศึกษาต้องเรียกเก็บเงินประกันสัญญา
ข้อใดถูกต้อง
1.7,500 บาท
2.15,000 บาท
3.22,500 บาท
4.ครึ่งหนึ่งของจำนวนเงินทำสัญญา
1386. ข้อใดไม่ใช่สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน?
1..ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
2..ความสามารถในการสื่อสาร
3.ความสามารถในการคิด
4.ความสามารถในการวิเคราะห์ปัญหา
1387 .สถานศึกษาสามารถเรียกเก็บเงินได้กรณีใด?
1.ค่ากิจกรรม ICT
2..ค่าบัตรประจำตัว
น.ร.
3..ค่าสมุดรายงานประจำตัว น.ร.
4.ค่าเรียนปรับพื้นฐานความรู้
1388.บอกให้ทราบถึง เนื้อหาสาระ
กิจกรรมการสอน สื่อ การวัดผลประเมินผล
สมรรถนะผู้เรียนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตรงกับข้อใด?
1.สาระการเรียนรู้
2.คำอธิบายรายวิชา
3..มาตรฐานการเรียนรู้
4..กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
1389 .สถานที่ให้การอุปการะเลี้ยงดูและพัฒนาเด็กหมายถึง?
1.สถานรับเลี้ยงเด็ก
2.สถานแรกรับ
3.สถานสงเคราะห์
4.สถานคุ้มครองสวัสดิภาพ
1390 .ถ้าท่านเป็น
ผอ.ร.ร.จะพิจารณาการทำงานครูผู้ช่วยด้วยวิธีการใด?
1.แนะนำ
2.การประเมิน
3.ให้คำปรึกษา
4.การเสนอแนะโดยครูพี่เลี้ยง
1391 ท่านเป็นผู้บริหารสถานศึกษาตั้งคณะกรรมการจัดทำแผนการจัดการเรียน(แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
IEP ) ใช้กับข้อใด
1.การเรียนร่วม
2.การศึกษาในระบบ
3.การศึกษาตามอัธยาศัย
4.การศึกษานอกระบบ
1392 .เมื่อท่านได้ไปรับตำแหน่งเป็น
ผอ.ร.ร. สิ่งแรกที่ต้องกระทำ คือข้อใด?
1.ระดมทุนในการพัฒนา ร.ร.
2.กำหนดรูปแบบในการประสานงาน
3.วิเคราะห์ผลการปฎิบัติงานของ
ร.ร.
4.วางแผนออกแบบจัดการระบบบริหาร
1393 .ถ้าท่านเป็นผู้อำนวยการโรงเรียนจะมอบหมายบุคลากรหลักระบบดูแลช่วยเหลือให้ตรงกับข้อใด?
1.ครูที่ปรึกษา
2.ครูแนะแนว
3.ครูประจำชั้น
4.รอง
ผอ.ร.ร.ที่รับผิดชอบงานกิจการนักเรียน
1394 .ข้อใดเป็นสิ่งที่ทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และการปฎิบัติ
1.สาระการเรียนรู้
2.หน่วยการเรียนรู้
3.มาตรฐานการเรียนรู้
4.การบูรณาการ
1395 .การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา
ข้อใดสำคัญที่สุด?
1..การออกแบบการเรียนรู้
2..การออกแบบการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
3..การเชื่อมโยงมาตรฐานการเรียนรู้
4.การจัดทำตารางสอ
1396 .ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในการเก็บหนังสือสำรวจหนังสือที่ครบกำหนดอายุการเก็บในปีนั้น
โดยการ ทำลายหนังสือ ตรงกับข้อใด
1.ภายใน 30
วันหลังจากวันสิ้นปีปฏิทิน
2.ภายใน 45
วันหลังจากวันสิ้นปีปฏิทิน
. 3.ภายใน
60 วันหลังจากวันสิ้นปีปฏิทิน
4.ภายใน 90 วันหลังจากวันสิ้นปีปฏิทิน
1397 .เกณฑ์มาตรฐานส้วม”
HAS ตัว “H” ตรงกับข้อใด
1.สะดวก
2.สะอาด
3. เพียงพอ
4.ปลอดภัย
1398 .การคัดกรองนักเรียนตามระบบดูแลช่วยเหลือมีกลุ่มตรงกับข้อใด?
1.กลุ่มมีปัญหา-กลุ่มเสี่ยง-กลุ่มปกติ-กลุ่มพิเศษ
2.กลุ่มมีปัญหา-กลุ่มส่งต่อ-กลุ่มปกติ-กลุ่มพิเศษ
3.กลุ่มปกติ-กลุ่มเสี่ยง-กลุ่มผิดปกติ-กลุ่มพิเศษ
4.กลุ่มไม่มีปัญหา-กลุ่มเสี่ยง-กลุ่มปกติ-กลุ่มพิเศษ
1399 .หนังสือประชาสัมพันธ์
ข้อไดกล่าวไม่ถูกต้อง
1.เป็นประกาศ
2.แถลงการณ์
3.ข่าว
4. ถูกต้องทุกข้อที่กล่าวมา
1400 .เนื้อหาที่เรียนซึ่งจะมีทั้งตัวความรู้
คุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมและกระบวนการ ประกอบด้วย องค์ความรู้ ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะสำคัญ ตรงกับข้อใด?
1.มาตรฐานการเรียนรู้
2.สาระการเรียนรู้
3.หน่วยการเรียนรู้
4.องค์การของความเรียนรู้ขอบคุณ ผอ.สมบัติ พันธ์โพธิ์คา
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น