การจัดระบบควบคุมภายในสถานศึกษา
(อยู่ในกลุ่มบริหารทั่วไป)
ทาความเข้าใจความหมายคาก่อนศึกษา: หน่วยรับตรวจหรือหน่วยตรวจ
หมายถึง โรงเรียน ที่จะมีการแบ่งงานเป็นระดับส่วนงานย่อยและมีผู้ตรวจสอบภายในโรงเรียนต่อไป
วัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน
1. การดาเนินงาน
(Operation : O)
2. การรายงานทางการเงิน
(Financial : F)
3. การปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง
(Compliance : C)
แนวคิดเกี่ยวกับการควบคุมภายใน
1. เป็นกระบวนการที่รวมไว้หรือเป็นส่วนหนึ่งในการปฏิบัติงานตามปกติ
2. เกิดขึ้นได้โดยบุคลากรของหน่วยรับตรวจ
3. ให้ความมั่นใจ ว่าการปฏิบัติงานจะบรรลุผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด
บทบาทและความรับผิดชอบผู้บริหารต่อการควบคุมภายใน
- สร้างสภาพแวดล้อมที่ดี
(จัดทาข้อกาหนดจริยธรรม เน้นความซื่อสัตย์ + สนับสนุนให้ปฏิบัติตามข้อกาหนดอย่างต่อเนื่อง
+ ฝ่ายบริหารเป็นแบบอย่างที่ดี + พิจารณาผลจากปฏิบัติงานโดยคานึงถึงความซื่อสัตย์และจริยธรรม)
- แต่งตั้งบุคลากรทีมีความรู้ความสามารถเหมาะสมกับหน้าที่และความรับผิดชอบ
- มอบอานาจหน้าที่และความรับผิดชอบให้ส่วนงานต่างๆ
อย่างชัดเจน
- จัดให้มีสายงานบังคับบัญชาที่เหมาะสม
- พัฒนาระบบข้อมูลและสารสนเทศ
- สนับสนุนกระบวนการประเมินการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง
เรียบเรียงโดย
เจนวุฒิ บุญชูพงศ์
เรื่องน่ารู้การควบคุมภายใน
- เครื่องมือที่ผู้บริหารนามาใช้เพื่อให้เกิดความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่าการดาเนินการจะบรรลุผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด
= ควบคุมภายใน
- พื้นฐานที่สาคัญของการควบคุม
เพื่อบรรลุผลของหน่วยรับตรวจ (โรงเรียน) = โครงสร้างการควบคุมภายในที่ดี
- พื้นฐานที่สาคัญที่สุดของการบริหารองค์กร=
สภาพแวดล้อมของการควบคุม
- องค์ประกอบที่สาคัญที่สุดของการควบคุมภายใน
= สภาพแวดล้อมของการควบคุม
-ปัจจัยสาคัญสาคัญและมีอิทธิพลที่สุดต่อการปฏิบัติงานทุกด้าน
= บุคลากร
- ปัจจัยที่สาคัญที่สุดในการควบคุมความเสี่ยงในองค์กร
= นโยบายการบริหารความเสี่ยง
- ส่วนสนับสนุนที่สาคัญที่สุดต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการกาหนดกลยุทธ์
ประเมินความเสี่ยงและกิจกรรมการควบคุม = สารสนเทศและการสื่อสาร
- จากระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกาหนดมาตรฐานควบคุมภายใน
พ.ศ. 2544 ข้อ 6 ประเมินการควบคุมภายในและรายงานผลการประเมินอย่างน้อยปีละ
1 ครั้ง ภายใน 90 วัน จากวันสิ้นปีงบประมาณ
(30 ก.ย.) หรือ ปีปฏิทิน
(31 ธ.ค.) แล้วแต่กรณี
-แบบ ปอ.
1 (หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน) ส่ง
สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน:สตง. ส่วนแบบอื่นๆ
ได้แก่ ปอ.1 ปอ. 2 ปย. 1 ปย. 2 และ ปส. เก็บไว้ที่โรงเรียน
องค์ประกอบ(หรือเรียกอีกชื่อว่า
มาตรฐาน)ของการควบคุมภายใน
1. สภาพแวดล้อมการควบคุม
(Control Environment)
2. การประเมินความเสี่ยง
(Risk Assessment)
ขั้นตอนในการประเมินความเสี่ยง
ประกอบด้วย
1. ระบุปัจจัยเสี่ยง
(Event Identification)
2. วิเคราะห์ความเสี่ยง
(Risk Analysis)
3. การจัดการความเสี่ยง
(Risk Response)
3.1 การหลีกเลี่ยง
(Avoiding)
3.2 การแบ่งปัน
(Sharing)
3.3 การลด
(Reducing)
3.4 การยอมรับ
(Accepting)
3. กิจกรรมการควบคุม
(Control Activities)
4. สารสนเทศและการสื่อสาร
(Information and Communication) เรียบเรียงโดย เจนวุฒิ บุญชูพงศ์
5. การติดตามประเมินผล
(Monitoring)
5.1 การติดตามผล
ในระหว่างการปฏิบัติงาน
5.2 การติดตามผลเป็นรายครั้ง
(ควบคุมด้วยตนเอง + ควบคุมอย่างอิสระ)
การจัดทารายงานการประเมินผลการควบคุมภายในของโรงเรียน
1. ระดับหน่วยรับตรวจ
- แบบ ปอ. 1 (หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน)
แบบ ปอ. 2 (รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน)
แบบ ปอ. 3 (รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน)
2. ระดับส่วนงานย่อย
- แบบ ปย. 1 (รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน)
แบบ ปย. 2 (รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน)
3. ผู้ตรวจสอบภายใน
- แบบ ปส. (รายงานผลการสอบทานการประเมินผลการควบคุมภายในของผู้ตรวจสอบภายใน)
การดาเนินการประเมินผลการควบคุมภายในสถานศึกษา
1. กาหนดผู้รับผิดชอบ
1.1 ผู้อานวยการสถานศึกษา
มีหน้าที่ พิจารณาผลการประเมินระดับหน่วยรับตรวจ
1.2 เจ้าหน้าที่ระดับอาวุโสหรือคณะทางาน
มีหน้าที่ -อานวยการและประสานงาน –จัดทาแผนการ
-ประเมินผลองค์กร -ติดตามการประเมินผล
-สรุปภาพรวมการประเมินผล -จัดทารายงานระดับหน่วยรับตรวจ
1.3 รองผู้อานวยการสถานศึกษา
หัวหน้างาน ครู มีหน้าที่ -ประเมินผลการควบคุมด้วยตนเอง
(CSA)-ติดตามผล –สรุปผลการประเมิน –จัดทารายงานระดับส่วนงานย่อย
1.4 ผู้ตรวจสอบภายใน มีหน้าที่
-ประเมินผลการควบคุมด้วยตนเอง (CSA) –สอบทานการประเมินผล
–จัดทารายงานแบบ ปส.
2. กาหนดขอบเขต
(ประเมินทั้งระบบ/บางส่วน/งานที่มีความเสี่ยงสูง)
และวัตถุประสงค์การประเมิน (ประเมินเพื่อต้องการทราบสิ่งใด
เช่น ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความถูกต้อง การปฏิบัติตามกฎและระเบียบ ฯลฯ)
3. ศึกษาทาความเข้าใจโครงสร้างการควบคุมภายใน
(รูปแบบระบบการควบคุมภายในตามที่ออกแบบไว้ ทางานจริง ทาอย่างไร สอบถาม/สัมภาษณ์/ศึกษาเอกสาร สรุปผลการศึกษา)
4. จัดทาแผนการประเมิน
ได้แก่
เรื่องที่จะประเมิน วัตถุประสงค์การประเมิน ขอบเขต ผู้ประเมิน ระยะเวลา วิธีประเมิน
และเครื่องมืออุปกรณ์ที่ใช้
5. ดาเนินการประเมินผลการควบคุมภายใน
โดยการประเมินการควบคุมด้วยตนเอง
หรือที่เรียกว่า
CSA (ตัวอย่างรูปแบบ CSA เช่น แบบประชุมปฏิบัติการหรือWorkshop
การออกแบบสอบถาม และการสารวจเรียบเรียงโดย เจนวุฒิ
บุญชูพงศ์
การควบคุมภายใน (การสารวจข้อมูล)
ทั้งนี้ CSA จะประเมินร่วมกันระหว่างผู้บริหารและผู้ปฏิบัติในสายงานนั้น
6. สรุปผลและจัดทาเอกสารการประเมิน
ส่วนงานย่อย
- วิเคราะห์ ความมีอยู่ ความเพียงพอ
ประสิทธิผล การควบคุมจากผลการประเมิน
- เสนอวิธีการปรับปรุง แก้ไข
ข้อบกพร่อง จุดอ่อน
- จัดทารายงานส่ง เจ้าหน้าที่อาวุโส/คณะทางาน ได้แก่ ปย.1 (รายงานผลการประเมินองค์ประกอบการควบคุมภายใน)
ปย.2 (รายงานการประเมินผลและปรับปรุงการควบคุมภายใน)
หน่วยรับตรวจ (โรงเรียน)
- รวมผลสรุปส่วนงานย่อยผลการประเมินเพิ่มเติม
- ผลการประเมินอิสระของผู้ตรวจสอบภายใน
- วิเคราะห์ เปรียบเทียบ
สรุปภาพรวม
- จัดทารายงาน ได้แก่ ปอ.1 (หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน) ปอ.2
(รายงานผลการประเมินองค์ประกอบกางควบคุมภายใน) ปอ.3 (รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน)
เรียบเรียงโดย
เจนวุฒิ บุญชูพงศ์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น