UTQ-00209
UTQ-00209 สาระการเรียนรู้สังคม
ศาสนา และวัฒนธรรม : โครงงานประวัติศาสตร์ คะแนน 18/20
- นิยามในข้อใดกล่าวถึงความหมายของประวัติศาสตร์ได้ถูกต้องสมบูรณ์ที่สุด
– การไต่สวนให้รู้ถึงความเป็นจริงที่เกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์ที่เกิดขึ้นช่วงใดช่วงหนึ่งของอดีต - คำกล่าวใดไม่ถูกต้อง
– ประวัติศาสตร์เป็นเพียงร่องรอยที่มีหลักฐานทางโบราณคดี - คุณค่าของประวัติศาสตร์ที่สำคัญที่สุดคืออะไร
– การรู้รากเหง้าของตนเอง - ประวัติศาสตร์มีประโยชน์ที่สำคัญอย่างไร
– ช่วยในการตัดสินใจโดยอาศัยแนวประสบการณ์ของมนุษย์ในอดีตเป็นแนวปฏิบัติกับปัญหาในปัจจุบัน - สาระประวัติศาสตร์กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้มาตรฐานใดที่สร้างเจตคติให้กับนักเรียนให้มีความรักความภูมิใจและธำรงความเป็นไทย
– มาตรฐานที่ ส 4.3 - กระบวนการที่ใช้ศึกษาค้นคว้า สืบสาวเรื่องราวทางประวัติศาสตร์โดยอาศัยหลักฐานต่าง
เพื่อให้เข้าใจเรื่องราวในอดีตได้อย่างชัดเจนเป็นข้อความที่เกี่ยวข้องกับ อะไร
– วิธีการทางประวัติศาสตร์ - วิธีการทางประวัติศาสตร์
สอดคล้องกับมาตรฐานสาระประวัติศาสตร์มาตรฐานใด
– มาตรฐาน ส 4.1 - “ใครคือบุคคลสำคัญในท้องถิ่น” เป็นขั้นตอนใดของวิธีการทางประวัติศาสตร์
– การกำหนดหัวเรื่องที่จะศึกษา - ข้อใดกล่าวถูกต้อง
– โครงงานประวัติศาสตร์คือการใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์สืบค้นเรื่องราวในอดีต - การศึกษาหลักฐานโบราณคดีที่ขุดพบที่บ้านเชียง
ผลงานวิจัยที่มีข้อมูลเกี่ยวกับประวัติศาสตร์บ้านเชียง เป็นขั้นตอนใดของการทำโครงงานประวัติศาสตร์
– การรวบรวมข้อมูลและหลักฐาน - คำกล่าวใดไม่ถูกต้อง
– การใช้ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ในการทำโครงงาน สามารถใช้ตั้งแต่ระดับประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ครบทุกขั้นตอน - การนำเสนอที่ตีความประเมินคุณค่าหลักฐานแล้วนำมาเรียบเรียงต่อกันอย่าง
เป็น เหตุเป็นผลรวมทั้งมีการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลด้วย เป็นขั้นตอนใดของโครงงานประวัติศาสตร์
– ขั้นสรุปผลการดำเนินงาน - ความคิดคืออะไร
– ความคิดเป็นผลที่เกิดจากการที่สมองถูกรบกวนจากสิ่งแวดล้อมสังคมรอบตัวและประสบการณ์ส่วนตัวของมนุษย์ - ดิวอี้
นิยามความหมายของการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ไว้อย่างไร
– การคิดอย่างใคร่ครวญ ไตร่ตรอง - “การแยกแยะความแตกต่างของข้อมูลว่าข้อมูลใดเป็นข้อคิดเห็น
ข้อมูลใดเป็นข้อเท็จจริงและจัดลำดับความสำคัญ” เป็นขั้นตอนของกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณขั้นตอนใด
– การระบุลักษณะข้อมูล - วิธีสอนประวัติศาสตร์แบบ Active History (แบบกระตือรือร้น)
ขั้นตอนใดที่เป็นขั้นแสดงความคิด
– การเขียนภาพ การลำดับเหตุการณ์ การสร้าง Model จำลอง - การจัดการเรียนการสอนเพื่อให้เห็นภาพรวมของความคิดเห็น
ความสัมพันธ์ของความคิดรวบยอดเป็นภาพครู ควรใช้เทคนิคหรือวิธีสอนแบบใด
– แบบแผนผังความคิดรวบยอด - การสอนโดยใช้เทคนิคการใช้ผังกราฟฟิก
แบบใดที่เหมาะกับการเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยกับ
วัฒนธรรมของประเทศพม่า
– แผนผังรูปวงกลมทับเหลื่อม ( Overlapping circles map ) - การสอนประวัติศาสตร์ให้ได้ผลตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานนั้นต้องให้บรรลุเป้าหมายในข้อใด
– มาตรฐาน/ตัวชี้วัด - ขั้นการเก็บและรวบรวมข้อมูลของวิธีสอนแบบแก้ปัญหานั้นจะสอดคล้องกับวิธีการทางประวัติศาสตร์ในข้อใด
– การประเมินคุณค่าของข้อมูล
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น