วันศุกร์ที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

UTQ-02132 การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ  การจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
คะแนน 19/20

กิจกรรม การสร้างความคิดใหม่เป็นขั้นตอนการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ในขั้นใด
ขั้นปรับเปลี่ยนความคิด (Turning restructuring of ideas)

เทคนิคในการสอนแบบใดที่ไม่เหมาะสมกับการจัดกระบวนการเรียนรู้รูปแบบการสร้างองค์ความรู้
การสอนโดยการใช้บทเรียนสำเร็จรูป

เป้าหมายของการตั้งคำถามในข้อใดที่ ไม่ถูกต้อง ในการใช้เทคนิคการสอนแบบตั้งคำถาม
ยุติบทบาทการช่างคุยของผู้เรียนในชั้นเรียนได้

คำกล่าวใดไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้
มนุษย์มักจะพบประสบการณ์ใหม่เสมอความรู้จึงเปลี่ยนแปลงได้เรื่อย ๆ

ในการจัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ผู้เรียนจะต้องมีบทบาทอย่างไรจึงจะบรรลุวัตถุประสงค์ของการเรียน
ถูกทุกข้อ

คำกล่าวในข้อใดที่ ถูกต้องที่สุด เกี่ยวกับกระบวนการจัดการเรียนรู้รูปแบบการสร้างองค์ความรู้
ครูเป็นผู้ชี้แนะ ไม่ใช่ผู้นำ กระตุ้นให้นักเรียนคิดมากกว่าให้ครูบอก

ข้อใดคือผลที่เกิดกับผู้เรียนในการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้
ถูกทุกข้อ

หลักการต่อไปนี้ เป็นทฤษฎีของการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism) ยกเว้นข้อใด
การบอกหรือการแสดงความคิดเห็นที่หลากหลายของครูเป็นทางเลือกของผู้เรียนในการความรู้ใหม่

กิจกรรม การใช้รูปแบบนวัตกรรมใหม่ หรือการใช้แนวคิด หรือความรู้ใหม่ ในสภาวการณ์ต่างๆเป็นขั้นตอนการจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบสร้างองค์ความรู้ในขั้นใด
ขั้นนำความคิดไปใช้ (Application of ideas)

วิธีการประเมินผลการจัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ในข้อใดที่ไม่ถูกต้อง
ประเมินว่าผู้เรียนยังไม่รู้อะไร

ข้อ ความใดแสดงถึงผลที่พึงประสงค์มากที่สุดของของการมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันระหว่าง นักเรียนกับนักเรียนในการจัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ก่อให้เกิดแนวคิดใหม่

การกระทำใดแสดงถึงบทบาทสำคัญของบุคคลในการเรียนรู้ ตามแนวการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
ดลฤทัยมีความรู้เรื่องขับร้องและดนตรี จึงร่วมกันสร้างสรรค์ บทเพลงเพื่อต่อต้านยาเสพย์ติดใน การเรียนเรื่อง การแก้ไขปัญหาสังคม

เทคนิคการสอนแบบตั้งคำถาม (Questioning) กรณีที่ผู้เรียนประสบความยากลำบากในการตอบคำถาม บทบาทที่ครูไม่ควรกระทำ คือข้อใด
กระตุ้นให้ผู้เรียนตอบ โดยทำเสียงดุ

พฤติกรรมในข้อใดเป็นผลที่เกิดจากการฝึกทักษะกระบวนการกลุ่มแก่ผู้เรียน
ถูกทุกข้อ

สถานการณ์ของผู้เรียนในข้อใดที่ก่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้แบบการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism) ได้ดีที่สุด
ผู้เรียนร่วมกันคิดและทำงานโดยใช้กระบวนการกลุ่ม

เพราะเหตุใดกระบวนการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ในขั้นสุดท้ายจึงต้องให้ผู้เรียนทบทวน
เพื่อการประเมินผล ปรับปรุงและพัฒนา

คำกล่าวในข้อใด ถูกต้องที่สุด เกี่ยวกับการจัดกระบวนการเรียนรู้ (Constructivism)
การจัดบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่ดีให้ผู้เรียนได้คิดจะทำให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ได้ดี

กิจกรรมในข้อใดที่อธิบายถึงการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ในขั้นนำ
การสร้างแรงจูงใจในบทเรียน

การกระทำในข้อใดต่อไปนี้คือบทบาทของครูในการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้
กระตุ้นให้ผู้เรียนคิดวางแผนร่วมกันในการสร้างความคิดใหม่

ลักษณะการจัดการเรียนรู้แบบใด เป็นการจัดการตามแนวการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
ส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็นเจ้าของหัวข้อในการเรียนรู้

1. การกระทำใดแสดงถึงบทบาทสำคัญของบุคคลในการเรียนรู้ ตามแนวการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism) 
  • ก. นายดิเรกนั่งคิดคนเดียวว่าทำอย่างไรจึงทำการบ้าน แก้สมการทางคณิตศาสตร์ได้
  • ข. นายนพพลคิดว่าเขาจะเข้าห้องสมุดเพื่อหาอ่านผ่อนคลายความเครียด
  • ค. ดลฤทัยมีความรู้เรื่องขับร้องและดนตรี จึงร่วมกันสร้างสรรค์บทเพลงเพื่อต่อต้านยาเสพย์ติดใน การเรียนเรื่อง การแก้ไขปัญหาสังคม
  • ง. นายมั่นเฝ้าดูต้นข้าวที่เขาปลูกด้วยความชื่นชม และคิดว่าเมื่อเขาขายข้าวได้ เขาจะนำเงินไปใช้หนี้ ธ.ส.
2. เทคนิคการสอนแบบตั้งคำถาม (Questioning) กรณีที่ผู้เรียนประสบความยากลำบากในการตอบคำถาม บทบาทที่ครูไม่ควรกระทำ คือข้อใด
  • ก. หยุดให้ผู้เรียนคิดมีเวลาหาคำตอบ
  • ข. ทบทวนคำถามซ้ำ
  • ค. แนะนำคำตอบให้เล็กน้อย
  • ง. กระตุ้นให้ผู้เรียนตอบ โดยทำเสียงดุ
3. สถานการณ์ของผู้เรียนในข้อใดที่ก่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้แบบการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism) ได้ดีที่สุด
  • ก. ผู้เรียนได้ฟังคำชี้นำของครู
  • ข. ผู้เรียนบันทึกการบอกเล่าของครู
  • ค. ผู้เรียนค้นคว้าและคิดคนเดียว
  • ง. ผู้เรียนร่วมกันคิดและทำงานโดยใช้กระบวนการกลุ่ม
4.
ข้อความใดแสดงถึงผลที่พึงประสงค์มากที่สุด ของของการมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันระหว่างนักเรียนกับนักเรียนในการจัดการเรียน รู้แบบสร้างองค์ความรู้ 
  • ก. ความผูกพันและเป็นกันเอง
  • ข. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ก่อให้เกิดแนวคิดใหม่
  • ค. ความคุ้นเคยทำให้มีการอภัยต่อกันเมื่อทำผิด
  • ง. ความสนิทสนมก่อให้เกิดการผูกมิตรยาวนาน
5. เทคนิคในการสอนแบบใดที่ไม่เหมาะสมกับการจัดกระบวนการเรียนรู้รูปแบบการสร้างองค์ความรู้ 
  • ก. การสอนแบบสืบค้น
  • ข. การสอนแบบสร้างแผนผังความคิด
  • ค. การสอนแบบตั้งคำถาม
  • ง. การสอนโดยการใช้บทเรียนสำเร็จรูป
6. เป้าหมายของการตั้งคำถามในข้อใดที่ ไม่ถูกต้อง ในการใช้เทคนิคการสอนแบบตั้งคำถาม
  • ก. ช่วยสร้างนิสัยชอบคิดให้แก่ผู้เรียน
  • ข. สร้างแรงจูงใจและกระตุ้นความสนใจของผู้เรียน
  • ค. ประเมินจุดแข็งและจุดอ่อนของผู้เรียนได้
  • ง. ยุติบทบาทการช่างคุยของผู้เรียนในชั้นเรียนได้
7. ลักษณะการจัดการเรียนรู้แบบใด เป็นการจัดการตามแนวการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism) 
  • ก. ส่งเสริมให้ผู้เรียนค้นคว้าหัวข้อต่างๆ ได้ 1 หัวข้อจากที่ครูกำหนด
  • ข. จำกัดขอบเขตของการค้นคว้าแหล่งเรียนรู้
  • ค. ส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็นเจ้าของหัวข้อในการเรียนรู้
  • ง. ผู้เรียนแสวงหาความรู้ใหม่ๆโดยไม่ให้ความสำคัญกับความรู้เดิม
8. เพราะเหตุใดกระบวนการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ในขั้นสุดท้ายจึงต้องให้ผู้เรียนทบทวน 
  • ก. เพื่อสรุปความรู้ใหม่
  • ข. เพื่อแบ่งงานรับผิดชอบ
  • ค. เพื่ออภิปรายผลการทดลอง
  • ง. เพื่อการประเมินผล ปรับปรุงและพัฒนา
9. ในการจัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ผู้เรียนจะต้องมีบทบาทอย่างไรจึงจะบรรลุวัตถุประสงค์ของการเรียน
  • ก. มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้
  • ข. มีทักษะการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม
  • ค. มีความกระตือรือร้นในการแสวงหาความรู้
  • ง. ถูกทุกข้อ
10. หลักการต่อไปนี้ เป็นทฤษฎีของการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism) ยกเว้นข้อใด
  • ก. การเรียนรู้เป็นกระบวนสร้างความรู้ไม่ใช่การรับข้อมูลเป็นส่วน ๆ
  • ข. การเรียนรู้ขึ้นอยู่กับความรู้เดิมซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญของการสร้างความรู้ใหม่
  • ค. สถานการณ์หรือบริบทของการเรียนรู้เป็นสิ่งสำคัญของการสร้างความรู้ใหม่
  • ง. การบอกหรือการแสดงความคิดเห็นที่หลากหลายของครูเป็นทางเลือกของผู้เรียนในการความรู้ใหม่
11. กิจกรรม การสร้างความคิดใหม่เป็นขั้นตอนการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ในขั้นใด 
  • ก. ขั้นนำ (Orientation)
  • ข. ขั้นทบทวนความรู้เดิม (Elicitation of the prior knowledge)
  • ค. ขั้นปรับเปลี่ยนความคิด (Elicitation of the prior knowledge)
  • ง. ขั้นทบทวน (Review)
12. ข้อใดคือผลที่เกิดกับผู้เรียนในการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ 
  • ก. ผู้เรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
  • ข. ผู้เรียนใฝ่เรียน ใฝ่รู้ มีทักษะการค้นคว้า
  • ค. ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ด้วยตนเอง
  • ง. ถูกทุกข้อ
13. วิธีการประเมินผลการจัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ในข้อใดที่ไม่ถูกต้อง
  • ก. ครูประเมินความคิดรวบยอดของผู้เรียน
  • ข. ประเมินโดยการตรวจสอบความคิดของผู้เรียน
  • ค. ประเมินว่าผู้เรียนยังไม่รู้อะไร
  • ง. ประเมินทักษะการทำงานกลุ่ม
14. กิจกรรม การใช้รูปแบบนวัตกรรมใหม่ หรือการใช้แนวคิด หรือความรู้ใหม่ ในสภาวการณ์ต่างๆเป็นขั้นตอนการจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบสร้างองค์ความรู้ในขั้นใด 
  • ก. ขั้นนำ (Orientation)
  • ข. ขั้นทบทวนความรู้เดิม (Elicitation of the prior knowledge)
  • ค. ขั้นปรับเปลี่ยนความคิด (Elicitation of the prior knowledge)
  • ง. ขั้นนำความคิดไปใช้ (Application of ideas)
15. คำกล่าวในข้อใดที่ ถูกต้องที่สุด เกี่ยวกับกระบวนการจัดการเรียนรู้รูปแบบการสร้างองค์ความรู้ 
  • ก. การจัดกระบวนการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ไม่เหมาะกับชั้นเรียนที่นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ
  • ข. ครูไม่ต้องปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียนเพราะจะทำให้ผู้เรียนไม่เป็นตัวของตัวเอง
  • ค. ครูเป็นผู้ชี้แนะ ไม่ใช่ผู้นำ กระตุ้นให้นักเรียนคิดมากกว่าให้ครูบอก
  • ง. ผู้เรียนต้องเชื่อมั่นในตนเองสูง ไม่จำเป็นต้องมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
16. กิจกรรมในข้อใดที่อธิบายถึงการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ในขั้นนำ
  • ก. การสร้างแรงจูงใจในบทเรียน
  • ข. การเรียนดำเนินการจัดกิจกรรมสืบค้นแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ
  • ค. การเรียนรู้ขึ้นอยู่กับความรู้เดิมซึ่งเป็นกิจกรรมสำคัญของการสร้างความรู้ใหม่
  • ง. ผู้เรียนนำผลของการอภิปรายมากำหนดความคิดใหม่
17. การกระทำในข้อใดต่อไปนี้คือบทบาทของครูในการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ 
  • ก. กระตุ้นให้ผู้เรียนคิดวางแผนร่วมกันในการสร้างความคิดใหม่
  • ข. ชี้นำให้ผู้เรียนตอบคำถามในใบงานให้ถูกต้อง
  • ค. ครูสร้างสถานการณ์ให้ผู้เรียนทำตามคำสั่ง
  • ง. ครูให้ผู้เรียนตั้งคำถามจากเรื่องที่ครูกำหนดให้ พร้อมเฉลยคำตอบตามแนวที่ครูกำหนด
18. พฤติกรรมในข้อใดเป็นผลที่เกิดจากการฝึกทักษะกระบวนการกลุ่มแก่ผู้เรียน 
  • ก. เกิดภาวะผู้นำและผู้ตามในสถานการณ์ที่เหมาะสม
  • ข. มีการร่วมมือกันทำงานในหมู่รักเรียน
  • ค. มีการเคารพความคิดเห็นและเหตุผลของผู้อื่น
  • ง. ถูกทุกข้อ
19. คำกล่าวใดไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้
  • ก. ความรู้เดิมเป็นปัจจัยสำคัญของการสร้างความรู้ใหม่
  • ข. สถานการณ์หรือบริบทของการเรียนรู้เป็นสิ่งสำคัญของการสร้างความรู้
  • ค. มนุษย์มักจะพบประสบการณ์ใหม่เสมอความรู้จึงเปลี่ยนแปลงได้เรื่อย ๆ
  • ง. มโนทัศน์ที่ผู้เรียนสร้างขึ้นในการจัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ย่อมเป็นที่ยอมรับเสมอ
20. คำกล่าวในข้อใด ถูกต้องที่สุด เกี่ยวกับการจัดกระบวนการเรียนรู้ (Constructivism) 
  • ก. นักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดี จะเรียนรู้รูปแบบการสร้างองค์ความรู้ได้ดี
  • ข. คำถามปลายปิดที่มีคำตอบเดียวเหมาะกับการจัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้
  • ค. การสร้างความประทับใจให้ผู้เรียน จำบทเรียนได้ดี คือบทบาทของครูต้องโดดเด่นในการอธิบาย
  • ง. การจัดบรรยากาศแลสิ่งแวดล้อมที่ให้ผู้เรียนคิดสร้างสรรค์จะทำให้ผู้เรียนสร้างสรรค์องค์ความรู้ได้ดี

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น