UTQ-02137
UTQ-๐๒๑๓๗ การพัฒนาสมรรถนะประจำสายงานและสมรรถนะหลักสำหรับครู 20 ข้อ ได้ 16 คะแนน
1.ข้อใดคือประโยชน์ของสมรรถนะประจำสายงาน
-ส่งเสริมให้บุคคลสามารถปฏิบัติภารกิจในหน้าที่ได้ดียิ่งขึ้น
2.วัตถุประสงค์ในการประเมินสมรรถนะครูสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานคือข้อใด
-เพื่อประเมินสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูผู้สอนและนำผลการประเมินมากำหนดกรอบการพัฒนาครู
3.ข้อใดไม่ใช่สิ่งที่นำมาใช้ประกอบการประเมินผลการปฏิบัติงาน
-ความรู้และทักษะ
4.ความมุ่งมั่นในการปฏิบัติหน้าที่ให้มีคุณภาพถูกต้องครบถ้วนสมบูรณ์ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เป็นความหมายของสมรรถนะตามข้อใด
-สมรรถนะหลักด้านการมุ่งผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน
5.ผู้ใดไม่มีส่วนร่วมในการประเมินสมรรถนะครู
-สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
6.ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
-สมรรถนะไม่ใช่คุณสมบัติพื้นฐานของบุคคล
7.คำที่ใช้ในความหมายเดียวกับสมรรถนะคือข้อใด
-ศักยภาพ
8.ในการคัดเลือกโรงเรียนเพี่อพัฒนาสู่มาตรฐานสากล มีพื้นฐานมาจากข้อใด
-โรงเรียนที่สมัครเข้าร่วมโครงการ
9.สมรรถนะประจำสายงานของครูคือข้อใด
-ถูกทุกข้อ
10.ข้อใดคือสมรรถนะ
-ถูกทุกข้อ
11.สมรรถนะด้านความรักและศรัทธาในวิชาชีพเกี่ยวข้องกับข้อใด
-ยึดมั่นในอุดมการณ์ของวิชาชีพ ปกป้องเกียรติและศักดิ์ศรีของวิชาชีพ
12.สมรรถนะหลักสำหรับการพัฒนาครู คือข้อใด
-จริยธรรม การมุ่งผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน การทำงานเป็นทีม
13.ข้อใดคือความหมายที่ดีที่สุดของสมรรถนะประจำสายงาน
-สมรรถนะที่กำหนดเฉพาะสำหรับแต่ละตำแหน่ง เพื่อสนับสนุนให้บุคลากรที่ดำรงตำแหน่งนั้นแสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมกับหน้าที่
14.หน่วยงานใดที่นำสมรรถนะมาใช้ในการพัฒนาบุคลากร
-ก.พ. และ กคศ.
15.ข้อใดไม่ใช่สมรรถนะหลักของครู
-การพัฒนาผู้เรียน
16.ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับสมรรถนะด้านการบริหารจัดการชั้นเรียน
-การควบคุมความประพฤติของผู้เรียนในชั้นเรียน
17.การประเมินสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครู ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน... ศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นไปตามข้อใด
-นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข็มแข็ง
18.กิจกรรมพัฒนาสมรรถนะครู เพื่อเตรียมพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ควรดำเนินการตามข้อใด
-การอบรมและพัฒนาทักษะทางภาษาต่างประเทศ
19.ข้อใดคือความหมายของการวิจัยในชั้นเรียน
-เป็นกระบวนการศึกษาวิเคราะห์และแก้ปัญหาที่ดำเนินไปพร้อมกับการจัดการเรียนการสอน
20.ข้อใดเป็นองค์ประกอบของการดำเนินงานเพื่อให้โรงเรียนก้าวสู่มาตรฐานสากล
-การปรับปรุงโครงสร้างโรงเรียน การปรับปรุงคุณภาพครู การพัฒนาคุณภาพนักเรียน
1.ข้อใดคือประโยชน์ของสมรรถนะประจำสายงาน
-ส่งเสริมให้บุคคลสามารถปฏิบัติภารกิจในหน้าที่ได้ดียิ่งขึ้น
2.วัตถุประสงค์ในการประเมินสมรรถนะครูสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานคือข้อใด
-เพื่อประเมินสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูผู้สอนและนำผลการประเมินมากำหนดกรอบการพัฒนาครู
3.ข้อใดไม่ใช่สิ่งที่นำมาใช้ประกอบการประเมินผลการปฏิบัติงาน
-ความรู้และทักษะ
4.ความมุ่งมั่นในการปฏิบัติหน้าที่ให้มีคุณภาพถูกต้องครบถ้วนสมบูรณ์ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เป็นความหมายของสมรรถนะตามข้อใด
-สมรรถนะหลักด้านการมุ่งผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน
5.ผู้ใดไม่มีส่วนร่วมในการประเมินสมรรถนะครู
-สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
6.ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
-สมรรถนะไม่ใช่คุณสมบัติพื้นฐานของบุคคล
7.คำที่ใช้ในความหมายเดียวกับสมรรถนะคือข้อใด
-ศักยภาพ
8.ในการคัดเลือกโรงเรียนเพี่อพัฒนาสู่มาตรฐานสากล มีพื้นฐานมาจากข้อใด
-โรงเรียนที่สมัครเข้าร่วมโครงการ
9.สมรรถนะประจำสายงานของครูคือข้อใด
-ถูกทุกข้อ
10.ข้อใดคือสมรรถนะ
-ถูกทุกข้อ
11.สมรรถนะด้านความรักและศรัทธาในวิชาชีพเกี่ยวข้องกับข้อใด
-ยึดมั่นในอุดมการณ์ของวิชาชีพ ปกป้องเกียรติและศักดิ์ศรีของวิชาชีพ
12.สมรรถนะหลักสำหรับการพัฒนาครู คือข้อใด
-จริยธรรม การมุ่งผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน การทำงานเป็นทีม
13.ข้อใดคือความหมายที่ดีที่สุดของสมรรถนะประจำสายงาน
-สมรรถนะที่กำหนดเฉพาะสำหรับแต่ละตำแหน่ง เพื่อสนับสนุนให้บุคลากรที่ดำรงตำแหน่งนั้นแสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมกับหน้าที่
14.หน่วยงานใดที่นำสมรรถนะมาใช้ในการพัฒนาบุคลากร
-ก.พ. และ กคศ.
15.ข้อใดไม่ใช่สมรรถนะหลักของครู
-การพัฒนาผู้เรียน
16.ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับสมรรถนะด้านการบริหารจัดการชั้นเรียน
-การควบคุมความประพฤติของผู้เรียนในชั้นเรียน
17.การประเมินสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครู ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน... ศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นไปตามข้อใด
-นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข็มแข็ง
18.กิจกรรมพัฒนาสมรรถนะครู เพื่อเตรียมพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ควรดำเนินการตามข้อใด
-การอบรมและพัฒนาทักษะทางภาษาต่างประเทศ
19.ข้อใดคือความหมายของการวิจัยในชั้นเรียน
-เป็นกระบวนการศึกษาวิเคราะห์และแก้ปัญหาที่ดำเนินไปพร้อมกับการจัดการเรียนการสอน
20.ข้อใดเป็นองค์ประกอบของการดำเนินงานเพื่อให้โรงเรียนก้าวสู่มาตรฐานสากล
-การปรับปรุงโครงสร้างโรงเรียน การปรับปรุงคุณภาพครู การพัฒนาคุณภาพนักเรียน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น